บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI จังหวัดเพชรบุรี
การเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตาม HIVDR-EWI การวางแผนและการประสานงานการเก็บข้อมูลภายในทีม สิ่งที่พบจากการเก็บข้อมูล ภาคสนาม การลงข้อมูลในโปรแกรม และระยะเวลาลงข้อมูล อื่นๆ เพื่อการแลกเปลี่ยนประสบการณ์
การวางแผนและการประสานงานการเก็บข้อมูลภายในทีม เป้าหมาย 4 โรงพยาบาล ดำเนินการจริง 8 โรงพยาบาล มีการประชุม HIV CO. ทั้ง 8 แห่ง ในการเตรียมข้อมูล ได้แก่ แฟ้ม OPD เป็นต้น เพื่อตรวจสอบและบันทึกในแบบเก็บข้อมูล ชี้แจงแบบเก็บข้อมูล จัดทีมลงไปช่วยเก็บข้อมูล ทั้ง 8 โรงพยาบาล แห่งละ 5-10 คน ขึ้นกับจำนวนผู้ป่วย กำหนด วัน เวลา โรงพยาบาลที่เข้าดำเนินการ การเก็บข้อมูล HIV CO. ของโรงพยาบาลจะต้องสรุปการบันทึกข้อมูลของโรงพยาบาล ให้แก่ทีมเก็บข้อมูล
สิ่งที่พบจากการเก็บข้อมูล ภาคสนาม ข้อมูลในการดำเนินงานของโรงพยาบาล บางอย่างไม่มีในเอกสาร แต่อยู่ใน NAP บางอย่างไม่มีเลย การขาดยา : บางแห่งมีระบบในการบริหารจัดการโดยผู้ป่วยมียากิน โดยไม่ได้รับบริการที่คลินิกยาต้าน เช่น ของจากแผนก ER ห้องจ่ายยา หรือกลุ่มเพื่อน Adherence : การบันทึกของโรงพยาบาลระบุ “มากกว่า 95%” แต่แบบเก็บต้องใช้ “100%” จึงไม่สามารถยืนยันได้ว่าได้ตามเกณฑ์ของโปรแกรมหรือไม่
สิ่งที่พบจากการเก็บข้อมูล ภาคสนาม หน่วยในแบบเก็บข้อมูล ยา : ต้องใส่จำนวนเม็ดยา แต่โรงพยาบาลบางแห่งระบุแค่รายการยาไม่ได้ระบุเม็ดยา (ซึ่งต้องไปค้นใบสั่งยารวมทั้งเดือนจากห้องจ่ายยา) วันนัด : หน่วยเป็นสัปดาห์ แต่โรงพยาบาลบันทึกเป็นวัน จึงต้องคำนวณเวลาใหม่ ผู้ป่วย การจำแนกผู้ป่วยรายใหม่ : ผู้บันทึกไม่แน่ใจว่าเคยกินยาจากหน่วยบริการอื่นหรือไม่ เพราะผู้ป่วยบอกว่าไม่เคยกินยา วันที่เริ่มยาของผู้ป่วย : ไม่สามารถระบุวันที่เริ่มกินยาได้ ถ้าไม่ได้เริ่มยาที่โรงพยาบาลนั้น ๆ (ผู้ป่วยระบุเป็นปี เดือน หรือช่วงเวลา ไม่สามารถกำหนดวันที่แน่นอนได้)
การลงข้อมูลในโปรแกรม และระยะเวลาลงข้อมูล โปรแกรมไม่เป็นมิตรกับผู้บันทึก ตัวอักษรมีขนาดเล็ก : ปัจจุบันการตั้งค่าหน้าจอคุณภาพสูง ทำให้หน้าโปรแกรมมีขนาดเล็ก มีการแก้ไขเบื้องต้นโดยการแก้ค่าคุณภาพจอให้อยู่ในระดับต่ำ เพื่อให้ตัวอักษรใหญ่ขึ้น เมื่อข้อมูลผิดพลาด ไม่สามารถแก้ไขได้ ระยะเวลาในการลงข้อมูลของทุกโรงพยาบาลเสร็จสิ้นภายใน 1 เดือน
อื่นๆ เพื่อการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ... .
แนวทางการนำ HIVDR-EWI ไปใช้ประโยชน์ เมื่อเห็นค่าตัวชี้วัดแล้วสามารถบอกอะไรต่อผู้ให้บริการบ้าง ตัวชี้วัดใดที่ผิดปกติ เหตุผลมาจากสาเหตุใด ทางทีมมีการวิเคราะห์เหตุผลหรือไม่อย่างไร
แนวทางการนำ HIVDR-EWI ไปใช้ประโยชน์ หากเห็นว่าตัวชี้วัดยังห่างจากเกณฑ์เป้าหมาย ทางทีมมีการพัฒนาหรือปรับเปลี่ยนรูปแบบการเก็บข้อมูล หรือการให้บริการ หรือแนวทางการติดตามอย่างไรบ้าง การวางแผนการดำเนินงานที่สอดคล้องกับการพัฒนาเพื่อการป้องกันการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้อยาในพื้นที่
เมื่อเห็นค่าตัวชี้วัดแล้วสามารถบอกอะไรต่อผู้ให้บริการบ้าง สามารถบอกจุดอ่อน และนำไปสู่การปรับปรุงบริการในประเด็นนั้น ๆ ได้
EWI 4b : ร้อยละของผู้มารับยาทันเวลา ทุกครั้งตลอด 1 ปีแรกหลังเริ่มยา ตัวชี้วัดใดที่ผิดปกติ เหตุผลมาจากสาเหตุใด ทางทีมมีการวิเคราะห์เหตุผลหรือไม่อย่างไร EWI 4b : ร้อยละของผู้มารับยาทันเวลา ทุกครั้งตลอด 1 ปีแรกหลังเริ่มยา EWI 5b : ร้อยละของผู้มารับบริการตามนัดทุกครั้งตลอด 1 ปีแรกหลังเริ่มยา
หากเห็นว่าตัวชี้วัดยังห่างจากเกณฑ์เป้าหมาย ทางทีมมีการพัฒนาหรือปรับเปลี่ยนรูปแบบการเก็บข้อมูล หรือการให้บริการ หรือแนวทางการติดตามอย่างไรบ้าง .
สสจ. สนับสนุนให้โรงพยาบาล การวางแผนการดำเนินงานที่สอดคล้องกับการพัฒนาเพื่อการป้องกันการเกิดเชื้อเอชไอวี ดื้อยาในพื้นที่ สสจ. สนับสนุนให้โรงพยาบาล จัดทำระบบข้อมูลผู้รับบริการ “สูตรยาของผู้รับยาและคู่” เมื่อผู้ป่วยไม่พร้อมกินยาต่อ เจ้าหน้าที่จะทำอย่างไร