บทที่ 9 ศิลปะในการทำงานอย่างมีความสุข บทที่ 9 ศิลปะในการทำงานอย่างมีความสุข
“ผมไม่ได้ทำงาน แต่ผมสนุกกับงาน” Thomas Alva Edison 1847-1931
อิทธิบาท 4 อิทธิบาท แปลว่า บาทฐานแห่งความสำเร็จ ฉันทะ คือความพอใจ ในฐานะเป็นสิ่งที่ ตนถือว่า ดีที่สุด วิริยะ คือความพากเพียร จิตตะ หมายถึงความไม่ทอดทิ้ง วิมังสา หมายถึงความสอดส่องใน เหตุและผล แห่งความสำเร็จ
ทำงานเพื่องาน..ไม่ได้ทำงานเพื่อเงิน
เราใช้ชีวิตส่วนใหญ่กับงาน
ทำหน้าที่ของตนเองให้เต็มที่
เช้าชาม...เย็นชาม
“เขาไม่สนหลอกว่าคุณคือใคร เขาสนใจว่าคุณทำอะไร” พระครูพิศาลธรรมโกศล นามปากกา แพรเยื่อไม้ 2468-ปัจจุบัน
“เรียนให้เป็นสุข สนุกกับการทำงาน” พุทธทาสภิกขุ หรือ พระธรรมโกศาจารย์ พ.ศ.๒๔๖๗-๒๕๓๖
“ขยันให้เหงื่อออกตามรูขุมขน ดีกว่าขี้เกียจแล้ว ยากจน…จนน้ำล้นออกทางตา” พระพิศาลธรรมพาที (พะยอม กัลป์ยาโณ) ๒๔๙๒-ปัจจุบัน
พุทธกิจประจำวัน ๕ ประการ
พุทธกิจประการที่ ๑ เวลาเช้าเสด็จออกบิณฑบาต เพื่อเป็นการโปรดสัตว์โลกผู้ต้องการบุญ
พุทธกิจประการที่ ๒ ในเวลาเย็นทรงแสดงธรรมแก่คนผู้สนใจในการฟังธรรม
พุทธกิจประการที่ ๓ ในเวลาค่ำทรงประทานพระโอวาทให้กรรมฐานแก่ภิกษุทั้งหลาย
พุทธกิจประการที่ ๔ ในเวลาเที่ยงคืน ทรงแสดงธรรม และตอบปัญหาแก่เทวดาทั้งหลาย
พุทธกิจประการที่ ๕ ในเวลาใกล้รุ่ง ทรงตรวจดูสัตว์โลกที่อาจจะรู้ธรรมซึ่งประองค์ทรงแสดง แล้วได้รับผลตามสมควรแก่อุปนิสัยบารมีของคนเหล่านั้น
อุปสรรคในการทำงาน - การไม่ให้คุณค่าแก่งาน - การปล่อยพลังงานให้สูญเปล่า - การไม่รู้จักตัวเอง - การไม่ให้คุณค่าแก่งาน - การปล่อยพลังงานให้สูญเปล่า - ความเครียด
การทำงานด้วยความสุข - สร้างทัศนะใหม่ - ทำงานด้วยหัวใจ - อุปสรรคคือพลัง - จงซื่อสัตย์ต่อตนเอง - เป็นสุขกับการทำงาน
ปรัชญาทั่วไป