ศาสตราจารย์ ดร.ทัศนีย์ อัตตะนันทน์ 6 มกราคม 2555 โรงแรมเอบีน่าเฮ้าส์ เทคโนโลยีการใช้ปุ๋ยเคมีอย่างมีประสิทธิภาพ ศาสตราจารย์ ดร.ทัศนีย์ อัตตะนันทน์ 6 มกราคม 2555 โรงแรมเอบีน่าเฮ้าส์
ประวัติการใช้ปุ๋ยเคมี เกษตรกรรู้จักใช้ปุ๋ยเคมีมานานกว่า 70 ปี เรียกว่า ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ ตัวแรกที่รู้จักกัน- ปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต ใช้กับพืชผักสวนครัวเป็นส่วนใหญ่ ในยุคนั้น เกษตรกรใช้ปุ๋ยอินทรีย์-ปุ๋ยคอกปุ๋ยหมักเป็นหลักในการปรับปรุงบำรุงดิน (เกษตรอินทรีย์) มีความยากลำบากในการหามาใช้ ให้เพียงพอกับพื้นที่ที่เพาะปลูกอยู่ จึงต้องหันมาใช้ปุ๋ยวิทยาศาสตร์
ในระยะ 40 ปีที่ผ่านมา ผืนป่าหมดที่จะให้หักล้างถางพงเพื่อเปิดที่เพาะปลูกใหม่ได้อีกแล้ว การเพาะปลูกพืชจึงถูกจำกัดอยู่กับการปลูกพืชซ้ำที่เดิม ดินเริ่มเสื่อมโทรม ปริมาณธาตุอาหารพืชในดินหมดไป ทำให้ผลผลิตพืชลดลง
การรักษาความอุดมสมบูรณ์ ของดินให้ยั่งยืน ต้องใส่ธาตุอาหารให้แก่ดิน เท่ากับที่เอาออกไปจากดิน ในรูปของผลผลิต
มีความสำคัญและจำเป็น ทราบปริมาณธาตุอาหารในดิน ดินเสื่อมโทรมหรือยัง การวิเคราะห์ดิน มีความสำคัญและจำเป็น ในระบบเกษตรเคมี และเกษตรอินทรีย์ ทราบปริมาณธาตุอาหารในดิน ก่อนและหลังปลูกพืช ดินเสื่อมโทรมหรือยัง
ดินเสื่อมโทรมคืออะไร การใช้ดินโดยไม่ปรับปรุงดินอย่างถูกวิธี ธาตุอาหารที่ติดไปกับผลผลิตจะสูญเสียไปจากดินอย่างถาวร ต้องใส่ปุ๋ยเคมีเพิ่มเติมลงไปในดินเพื่อชดเชยธาตุอาหารในดินที่สูญเสียไปทุกครั้งที่ปลูกพืช
ไม่เป็นกรด ด่าง ไม่เค็ม มีจุลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์ ดินดี 4 องค์ประกอบคือ ธาตุอาหาร ไม่เป็นกรด ด่าง ไม่เค็ม โปร่ง ร่วนซุย มีจุลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์
ดินดีมี 4 องค์ประกอบครบ ดินที่มีธาตุอาหารมากอาจเป็นดินเลว ถ้ามีองค์ประกอบอื่นๆไม่เหมาะสม ดินที่อุดมสมบูรณ์ต่ำแก้ไขได้โดยการใช้ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยเคมีอย่างเดียวไม่สามารถแก้ไขดินเลวให้เป็นดินดีได้
ให้มีประสิทธิภาพได้อย่างไร?” “ถ้าดินดี ย่อมใช้ปุ๋ยน้อย ต้นทุนการผลิตต่ำ” “ถ้าไม่รู้จักดิน ไม่รู้จักปุ๋ย จะปรับปรุงดิน หรือใช้ปุ๋ย ให้มีประสิทธิภาพได้อย่างไร?”
หลักการใช้ปุ๋ยเคมี อย่างมีประสิทธิภาพ ▪ ชนิด ▪ ปริมาณ ▪ เวลา ▪ วิธี
การใช้ปุ๋ยให้ถูกชนิด “ปุ๋ยสั่งตัด” คือ... การใช้ปุ๋ยให้ถูกชนิด และปริมาณ
หลักคิดของการเกษตรแม่นยำ ปุ๋ยสั่งตัด หลักคิดของการเกษตรแม่นยำ นำเทคโนโลยีสารสนเทศ คำนวณคำแนะนำปุ๋ย NPK ข้าว ข้าวโพด อ้อย ๒ มิ.ย. ๕๑
การเกษตรแม่นยำ น้ำ พันธุ์พืช การเตรียมดิน การอนุรักษ์ดิน การจัดการพืช ปลูกพืชหมุนเวียน ปุ๋ยแม่นยำ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
การใช้ปุ๋ยตามชุดดิน(>200) และค่าวิเคราะห์ดินปัจจุบัน “ปุ๋ยสั่งตัด” คือ... การใช้ปุ๋ยตามชุดดิน(>200) และค่าวิเคราะห์ดินปัจจุบัน ให้ตรงกับชนิดพืช และภูมิอากาศ (อาทิ ปริมาณน้ำฝน อุณหภูมิ ฯลฯ)
การใช้ปุ๋ยเคมีอย่างมีประสิทธิภาพ ใช้ปุ๋ยอินทรีย์มากที่สุด “ปุ๋ยสั่งตัด” คือ... การใช้ปุ๋ยเคมีอย่างมีประสิทธิภาพ ใช้ปุ๋ยอินทรีย์มากที่สุด (ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยพืชสด ฯลฯ)
คำแนะนำปุ๋ย”สั่งตัด” การนำ IT มาประยุกต์ใช้ ลดเวลาในการวิจัย ประหยัดงบประมาณและบุคลากร พัฒนาให้เหมาะสมกับไร่นาขนาดเล็ก ปรับปรุงให้เป็นปัจจุบัน และขยายผลต่อไปยัง ดินชนิดอื่น สถานที่อื่น และพืชพันธุ์อื่นๆ
“ปุ๋ยสั่งตัด” ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ พัฒนาคำแนะนำปุ๋ย NPK นำมาเรียกใช้ อยู่ในวงจำกัด เกษตรกรยังใช้ IT ไม่คล่อง นักวิชาการเป็นที่ปรึกษา
จุดเด่นของปุ๋ย “สั่งตัด” เป็นคำแนะนำปุ๋ยเฉพาะพื้นที่ เฉพาะชนิดดินของเกษตรกร คำแนะนำปุ๋ยที่ละเอียดและ มีประสิทธิภาพ ผู้ให้คำแนะนำคือเกษตรกร
นวัตกรรม คำแนะนำ “ปุ๋ยสั่งตัด” ข้าว ข้าวโพด และอ้อย (ภาคอีสาน) 2. ชุดตรวจสอบ N P K ในดิน แบบรวดเร็ว 3. กระบวนการในการถ่ายทอด เทคโนโลยี “ปุ๋ยสั่งตัด”
การใช้ปุ๋ยเคมีในประเทศไทย พัฒนาการ การใช้ปุ๋ยเคมีในประเทศไทย - คำแนะนำ “ปุ๋ยเสื้อโหล” (คำแนะนำปุ๋ยที่ไม่ต้องใช้ค่าวิเคราะห์ดิน) - คำแนะนำ “ปุ๋ยเสื้อโหลมีขนาด” (คำแนะนำปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินปัจจุบัน) - คำแนะนำ “ปุ๋ยสั่งตัด” (วิจัย ปี 40-51) สำหรับข้าว ข้าวโพด และอ้อย (ภาคอีสาน) (คำแนะนำปุ๋ยตามชุดดิน และค่าวิเคราะห์ดิน ปัจจุบัน ให้ตรงกับชนิดพืช และสภาพภูมิอากาศ)
ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน โครงการปุ๋ยลดต้นทุน ปุ๋ยสั่งตัด สำหรับข้าวและข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ การใส่ปุ๋ยอย่างแม่นยำในชนิดดินต่างๆ ที่มีกำลังการผลิตพืชไม่เท่ากัน และใส่ตามปริมาณปุ๋ยเดิมในดิน ที่ตรวจสอบก่อนการปลูกพืชให้เหมาะสม กับชนิดพืชและภูมิอากาศ ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน สำหรับมันสำปะหลัง การใส่ปุ๋ยตามปริมาณปุ๋ยเดิมในดินชั้นบน เป็นการใส่ปุ๋ยเท่ากันหมดในดินทุกชนิด
การใช้ปุ๋ย เอ็น-พี-เค แบบ “สั่งตัด” 3 ขั้นตอน การใช้ปุ๋ย เอ็น-พี-เค แบบ “สั่งตัด” 1. ตรวจสอบข้อมูลชุดดิน 2. ตรวจสอบปริมาณ เอ็น-พี-เค ในดิน แบบรวดเร็ว 3. ใช้ปุ๋ยตามคำแนะนำ
ขั้นที่1 ตรวจสอบชุดดิน แผนที่ชุดดินตำบล
ขั้นที่ 1 ตรวจสอบชุดดิน แผนที่ดินจังหวัด GPS X= 678217 Y=1514327 www.soil.doae.go.th
KU ย้าย “ห้องแล็ป” ลง “กล่อง” ขั้นที่ 2 วิเคราะห์ เอ็น-พี-เค ในดิน Soil Test Kit ย้าย “ห้องแล็ป” ลง “กล่อง”
ขั้นที่ 3 ใช้ปุ๋ยตามคำแนะนำ
ชุดดินฉะเชิงเทรา (Cc) ผลผลิตที่คาดว่าจะได้รับ 983 กก./ไร่ คำแนะนำการใช้ปุ๋ยสำหรับข้าวไม่ไวแสง จังหวัดฉะเชิงเทรา ชุดดินฉะเชิงเทรา (Cc) ผลผลิตที่คาดว่าจะได้รับ 983 กก./ไร่ ต่ำมาก ต่ำ ปานกลาง สูง เอ็น 8 4 2 พี 3 เค 5 8 8 4 4 2 3 ใส่ปุ๋ยครั้งที่ 1 ใส่ปุ๋ยครั้งที่ 2 N-P-K 8-4-3 18-46-0 10 46-0-0 5 0-0-60 5 46-0-0 9
ชุดดินปากช่อง (Pc) ผลผลิตที่คาดว่าจะได้รับ 1,421 กก./ไร่ คำแนะนำการใช้ปุ๋ยสำหรับข้าวโพด จังหวัดลพบุรี ชุดดินปากช่อง (Pc) ผลผลิตที่คาดว่าจะได้รับ 1,421 กก./ไร่ ต่ำมาก ต่ำ ปานกลาง สูง เอ็น 8 5 พี 4 3 เค 13 2 11 8 4 7 2 9 ใส่ปุ๋ยครั้งที่ 1 ใส่ปุ๋ยครั้งที่ 2 N-P-K 11-7-9 18-46-0 16 46-0-0 5 0-0-60 15 46-0-0 13 16-20-0 35 0-0-60 15 46-0-0 12
ชุดดินปากช่อง (Pc) ผลผลิตที่คาดว่าจะได้รับ 1,576 กก./ไร่ คำแนะนำการใช้ปุ๋ยสำหรับข้าวโพด จังหวัดนครราชสีมา ชุดดินปากช่อง (Pc) ผลผลิตที่คาดว่าจะได้รับ 1,576 กก./ไร่ ต่ำมาก ต่ำ ปานกลาง สูง เอ็น 8 11 6 พี 4 3 เค 14 2 16 8 4 7 2 10 ใส่ปุ๋ยครั้งที่ 1 ใส่ปุ๋ยครั้งที่ 2 N-P-K 16-7-10 18-46-0 16 46-0-0 12 0-0-60 19 46-0-0 18 16-20-0 35 0-0-60 15 46-0-0 12
การใช้ปุ๋ย เอ็น-พี-เค แบบ “สั่งตัด” การใช้ปุ๋ย เอ็น-พี-เค แบบ “สั่งตัด” ประโยชน์ - เกษตรกรใช้ปุ๋ยอย่างถูกต้อง ทำให้การใช้ปุ๋ย มีประสิทธิภาพมากขึ้น ช่วยลดต้นทุนการผลิต - ลดการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ทำให้ ผลผลิตมีคุณภาพ และลดปัญหาสิ่งแวดล้อม
การใช้ปุ๋ย เอ็น-พี-เค แบบ “สั่งตัด” การใช้ปุ๋ย เอ็น-พี-เค แบบ “สั่งตัด” ประโยชน์ ชาวนาในเขตชลประทาน (15 ล้านไร่) ใช้ปุ๋ยแบบ “สั่งตัด” จะลดต้นทุนการ ปลูกข้าวได้> 15,000 ล้านบาทต่อปี
การใช้ปุ๋ย เอ็น-พี-เคแบบ “สั่งตัด” ประโยชน์ ใช้ปุ๋ยแบบ “สั่งตัด” ทำให้ผลผลิตข้าวโพด สูงขึ้น 35% เกษตรกรปลูกข้าวโพด พื้นที่ 6 ล้านไร่ จะมีรายได้ มากกว่า 10,365 ล้านบาท/ปี
ค่าปุ๋ย (บาท/ไร่) และผลผลิต (กก. /ไร่) ข้าวนาชลประทาน ต. ห้วยขมิ้น อ ค่าปุ๋ย (บาท/ไร่) และผลผลิต (กก./ไร่) ข้าวนาชลประทาน ต. ห้วยขมิ้น อ. หนองแค จ. สระบุรี ปี 2553 เกษตรกร “ปุ๋ยสั่งตัด” วิธีเกษตรกร ค่าปุ๋ย ผลผลิต 13 ราย 463 925 969 750
ค่าปุ๋ย (บาท/ไร่) และผลผลิตข้าวโพด (กก./ไร่) ต.ห้วยเฮี้ย อ. นครไทย จ. พิษณุโลก ปี 2553 เกษตรกร “ปุ๋ยสั่งตัด” วิธีเกษตรกร ค่าปุ๋ย ผลผลิต คำป้าน 960 1,852 1,120 1,559 จิรเดช 1,200 1,270 950 บุญค้ำ 819 1,485 1,112 1,335 เทียน 1,770 1,176 1,535 เฉลี่ย 925 1,577 1,170 1,345
“ปุ๋ยสั่งตัด” จะได้ผลถูกต้อง ถ้าทุกภาคส่วนร่วมมือกัน “ปุ๋ยสั่งตัด” จะได้ผลถูกต้อง ถ้าทุกภาคส่วนร่วมมือกัน ให้บริการข้อมูลชุดดินแก่เกษตรกร (ผ่านหมอดินอาสา / เกษตรตำบล / อบต. / Website) ยกระดับความรู้ด้านดินและปุ๋ยให้แก่เกษตรกร (โดยเกษตรตำบล / วิทยาลัยเกษตรฯ / สื่อ T.V, วิทยุ, สิ่งพิมพ์) ฝึกเกษตรกรผู้นำ / หมอดินอาสาให้วิเคราะห์ดินและใช้คำแนะนำปุ๋ยสั่งตัด (โดย เกษตรตำบล วิทยาลัยเกษตรฯ) ธกส. มีนโยบายให้ สกต. จัดหาแม่ปุ๋ยและส่งเสริมให้ลูกค้าผสมปุ๋ยใช้เอง
ศึกษารายละเอียดได้ที่ ผลผลิต 1,321 กก./ไร่ ผลผลิต 922กก./ไร่ ศึกษารายละเอียดได้ที่ http://www.ssnm.agr.ku.ac.th http://www.banrainarao.com
การใช้ปุ๋ย ตามค่าวิเคราะห์ดิน 2 ขั้นตอน การใช้ปุ๋ย ตามค่าวิเคราะห์ดิน 1. ตรวจสอบปริมาณ เอ็น-พี-เค ในดิน 2. ใช้ปุ๋ยตามคำแนะนำ
เทคโนโลยีการใช้ปุ๋ย ปุ๋ยสั่งตัดสำหรับข้าวและข้าวโพด 1. ตรวจสอบข้อมูลชุดดิน 2. ตรวจสอบปริมาณ เอ็น-พี-เค ในดินแบบรวดเร็ว 3. ใช้ปุ๋ยตามคำแนะนำ ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินสำหรับมันสำปะหลัง 1. ตรวจสอบปริมาณ เอ็น-พี-เค ในดินแบบรวดเร็ว 2. ใช้ปุ๋ยตามคำแนะนำ
ข้อควรระวังและแนวทางแก้ไข ในการถ่ายทอดเทคโนโลยี ข้อมูลชุดดิน การเก็บตัวอย่างดิน การวิเคราะห์ดิน คำแนะนำปุ๋ยที่ถูกต้อง แม่ปุ๋ย การปรับปรุงบำรุงดิน การไม่เผาฟาง
การเตรียมการถ่ายทอดเทคโนโลยีการใช้ปุ๋ย 1. การสอนเกษตรกรเก็บตัวอย่างดิน 2. เตรียมชุดตรวจสอบปริมาณ เอ็น-พี-เค ในดิน และวิเคราะห์ดินให้เกษตรกร 3. ให้คำแนะนำการใช้ปุ๋ยสำหรับพืชทั้ง 3 4. เอกสารประกอบการถ่ายทอด
เกษตรกรมืออาชีพ ข้อตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน 2558 ข้อตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน 2558 1. ยกเว้นภาษีนำเข้า>8,000 รายการ 2. สินค้าเกษตร-ข้าว ข้าวโพด มันสำปะหลัง ปรับปรุงคุณภาพ ลดต้นทุนการผลิต 4. สิ่งแวดล้อม (ดิน น้ำ อากาศ) ไม่เสีย เกษตรกรมืออาชีพ
สำหรับข้าวโพด ข้าวและอ้อย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) “ปุ๋ยสั่งตัด” สำหรับข้าวโพด ข้าวและอ้อย โครงการวิจัยเด่นประจำปี 2554 สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)