การจัดการความรู้ เรื่อง การใช้สารชีวภัณฑ์แทนการใช้สารเคมี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
Advertisements

การจัดการอาหารปลอดภัยในโรงเรียน โครงการเท่ห์กินผักน่ารักกินผลไม้
การผลิตเชื้อจุลินทรีย์เพื่อควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืช
ดำเนินการโดย สำนักงานเกษตรอำเภอวังม่วง อำเภอวังม่วง จังหวัด สระบุรี
Weeds & weed management 2 กันยายน 2556 รู้จักเครื่องมือกำจัดวัชพืช
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
ผักปลอดภัยจากสารพิษ นางสาววรรณิศา เลี่ยมดำ ภาคพัฒนาการเกษตร
การป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมสาน
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
เรียนรู้ดูประสบการณ์จริง
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
โดย นางสาวสุพัสตรา เหล็กจาน สำนักงานประมงจังหวัดขอนแก่น
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
โครงงานเทคโนโลยี เรื่อง กำจัดศัตรูผักคะน้าด้วยสมุนไพรธรรมชาติ
การทำน้ำหมักสมุนไพรขับไล่แมลงในสวนผัก
1 ผักปลอดสารพิษ ผลผลิตพืชผักที่ไม่มีสารเคมีป้องกันและกำ จัดศัตรูพืชตกค้างอยู่ หรือมีตกค้างอยู่ไม่เกินระดับมาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหาร จัดการศูนย์บริการฯ หนึ่งตำบลหนึ่งฟาร์ม หนึ่งตำบลหนึ่งฟาร์ม ส่งเสริมการผลิตสินค้า ปลอดภัยและได้มาตรฐาน ส่งเสริมการผลิตสินค้า.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
การจัดการอาหารปลอดภัยในโรงเรียน โครงการเท่ห์กินผักน่ารักกินผลไม้
การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม
โครงการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง ไปสู่เป้าหมาย 30 ตัน/ไร่
การผลิตเชื้อรา ไตรโคเดอร์มาชนิดสด
สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองราชบุรี
การส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรเข้าสู่ระบบรับรองมาตรฐาน GAP
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
************************************************
องค์ความรู้ เรื่อง การปลูกถั่วฝักยาว
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
การจัดการองค์ความรู้ เรื่องการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ และการป้องกันกำจัดศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน สถานที่ดำเนินการ บ้านวังบง หมู่ที่ 10 ตำบลนาด้วง อำเภอนาด้วง.
พี่น้องปุ๋ยหมักโบกาชิ
การคัดพันธุ์ข้าว โดย ภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนายทองเหมาะ แจ่มแจ้ง
การใช้นมสดเพิ่มคุณภาพพืชผัก
สูตรดองไข่เค็มแบบเร่งรัด
น้ำหมักปลาร้าปราบ เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง โดย นายอาสา ประทุมศาลา นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตพืชเศรษฐกิจ (สับปะรด)
การทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพในบ่อเลี้ยงปลาดุก
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
การสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
บริการตรวจวินิจฉัยศัตรูพืช
น้ำสกัดชีวภาพ BIOEXTRACT สารสารพัดประโยชน์ ครูไพฑูรย์ ศิริรักษ์
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
กิจกรรมลดปริมาณขยะก่อนทิ้งในวิทยาลัย
FUNGICIDES : DITHIOCARBAMATE TEST KIT
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
การเจริญเติบโตของพืช
เรื่อง ยาสูบ นางสาว ธัญญาลักษณ์ ทนทาน เลขที่ 31
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
โดย ครูติดแผ่นดินลำไย เชียงราย
วันที่ 22 กรกฎาคม 2553 นายธวัฒน์ชัย ม่วง ทอง ได้ให้เกียรติเป็นประธานเปิดงานโครงการคลินิกพืช ณ สำนักงานเกษตรอำเภอบ้านสร้าง สถานการณ์การทำ การเกษตรในสภาวะปัจจุบัน.
การผลิตเชื้อราบิวเวอร์เรียระบบเปิดเทคนิคปลอดเชื้อ ( Aseptic thicnique ) ด้วยข้าวเปลือก นายชาญยุทธ อุปัชฌาย์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ สำนักงานเกษตรอำเภอจอมบึง.
โดย ครูติดแผ่นดินชา เชียงราย
นางสาวธัญชนก นาคพล ภาควิชา พัฒนาการเกษตร.
หน่วย เคลื่อนที่เร็ว วัตถุประสงค์ เพื่อควบคุมสถานการณ์ ศัตรูพืชและลดปัญหาการระบาด ได้ทันต่อเหตุการณ์ เป้าหมาย ครอบคลุมพื้นที่การระบาด ศัตรูพืช 76 จังหวัด.
การจัดการความรู้ (KM) ปี 2558 สำนักงานเกษตรอำเภอหนองแซง จังหวัดสระบุรี
แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการความรู้ เรื่อง การใช้สารชีวภัณฑ์แทนการใช้สารเคมี ดำเนินการโดย สำนักงานเกษตรอำเภอวังม่วง อำเภอวังม่วง จังหวัดสระบุรี

หลักการและเหตุผล สถานการณ์การผลิตทางด้านการผลิตทางการเกษตรของประเทศไทย โดยเฉพาะด้านการป้องกันกำจัดศัตรูพืชมีการใช้สารเคมีป้องกันกำจัดแมลงเป็นจำนวนมากและเกินความจำเป็น ซึ่งจะเห็นได้จากการสุ่มตรวจการปนเปื้อนสารพิษจะพบมากในพืชผัก ทำให้คนไทยเสี่ยงจากการบริโภคผักที่มีสารก่อมะเร็งซึ่งเป็นโรคที่มีปริมาณมากเป็นอันดับที่หนึ่งของประเทศไทย อำเภอวังม่วง มีการผลิตพืชผักจำนวนน้อยและไม่เพียงพอกับความต้องการของผู้บริโภคต้องซื้อจากแหล่งอื่นมาบริโภค สำนักงานเกษตรอำเภอวังม่วงเห็นความสำคัญของความปลอดภัยของผู้บริโภค จึงมีแนวความคิดที่จะส่งเสริมใช้สารชีวภัณฑ์แทนสารเคมี เพื่อความปลอดภัยสำหรับผู้ปลุกและผู้บริโภค

เป้าหมาย เกษตรกรผู้ปลูกพืชผักปลอดภัยจากสารพิษ วัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมองค์ความรู้ทางด้านการใช้สารชีวภัณฑ์แทนสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช

วิธีดำเนินการ การใช้สารชีวภัณฑ์ในการลดการใช้สารเคมี มีดังนี้ วิธีที่ ๑ ๑.ใช้ใบสะเดาและเมล็ด ทุบใส่น้ำ ๑ ปี๊บ ต้มแล้วเอาน้ำที่ได้ ๓ กิโลกรัม หมักไว้ ๓ วัน สามารถนำไปฉีดพ่นในอัตรา ๕ ซีซี/น้ำ ๒๐ ลิตร ๒.ใบสาบเสือ นำมาสับแล้วต้มน้ำ ๑ ปี๊บ กรองเอาแต่น้ำนำมาผสมเมธิลแอลกอฮอล์ นำน้ำที่ได้มาผสมกับแอลกอฮอล์ ๑ ลิตร การนำไปใช้อัตราส่วน ๕๐ ซีซี/น้ำ ๒๐ ลิตร ๓.หางไหล ๑ ปี๊บ หมักข้ามคืนคั้นน้ำ ผสมเมธิลแอลกอฮอล์ อัตรา ๕๐ ซีซี /น้ำ ๒๐ ลิตร นำส่วนผสม (๑) ๕๐ ซีซี ส่วนผสม (๒) ๕๐ ซีซี และส่วนผสม (๓) ๕๐ ซีซี / น้ำ ๒๐ ลิตร ผสมฉีดพ่นทุกๆ ๓ วัน

วิธีที่ ๒ การใช้เชื้อราบิวเบอร์เรีย ขั้นตอน ๑ วิธีที่ ๒ การใช้เชื้อราบิวเบอร์เรีย ขั้นตอน ๑.นำเชื้อราบิวเบอร์เรีย จำนวน ๓ ลิตร /น้ำ ๒๐ ลิตร ผสมให้เข้ากันเทใส่ถังขนาด ๒๐ ลิตร ๒.พ่นโดยใช้ถังพ่นยาที่ล้างสะอาด ยกชูขึ้นเหนือศรีษะและพ่นโดยส่ายหัวพ่นยาให้ทั่วบนตัวแมลงศัตรูพืช โดยพ่นในช่วงตอนเย็น ๓.การพ่นเชื้อราบิวเบอร์เรีย สามารถทยอยพ่นได้โดยเมื่อพ่นไม่เสร็จนำไม้ปักไว้แล้ววันต่อมาสามารถพ่นต่อได้

เทคนิค ๑.ล้างเครื่องพ่นยาให้สะอาดโดยใช้น้ำยาล้างจาน กรณีที่ถังเคยใช้สารเคมีป้องกันกำจัดแมลงมาก่อน ๒.พ่นสารบิวเบอร์เรียในตอนเย็นที่อากาศไม่ร้อน ๓.พ่นให้ถูกตัวแมลงศัตรูพืชมากที่สุด