การจัดการองค์ความรู้ เรื่องการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ และการป้องกันกำจัดศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน สถานที่ดำเนินการ บ้านวังบง หมู่ที่ 10 ตำบลนาด้วง อำเภอนาด้วง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดการอาหารปลอดภัยในโรงเรียน โครงการเท่ห์กินผักน่ารักกินผลไม้
Advertisements

โครงงาน เรื่อง. ปุ๋ยฟื้นฟูสภาพดิน จัดทำโดย 1. ด. ญ
ดำเนินการโดย สำนักงานเกษตรอำเภอวังม่วง อำเภอวังม่วง จังหวัด สระบุรี
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
สรุปใส่ปุ๋ย 100 กก.พืชกินปุ๋ยได้แค่ 30 กก.
โดย นางสาวสุพัสตรา เหล็กจาน สำนักงานประมงจังหวัดขอนแก่น
การเล่าเรื่อง.... ชีววิถีสู่ครัวเรือน. เรื่อง การผลิตฮอร์โมนพืช ผู้เล่า ธีรารัตน์ สุวรรณาลัย แนวคิด อยากลองใช้ EM กับต้นไม้ดอกไม้ใน บ้านเพื่อเร่งการออกดอกของต้นไม้
การทำน้ำหมักสมุนไพรขับไล่แมลงในสวนผัก
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวิเชียร อารยะสมสกุล
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหาร จัดการศูนย์บริการฯ หนึ่งตำบลหนึ่งฟาร์ม หนึ่งตำบลหนึ่งฟาร์ม ส่งเสริมการผลิตสินค้า ปลอดภัยและได้มาตรฐาน ส่งเสริมการผลิตสินค้า.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลช้างทูน อำเภอบ่อ ไร่ จังหวัดตราด.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวินัย ไชยอุดม
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
การจัดการอาหารปลอดภัยในโรงเรียน โครงการเท่ห์กินผักน่ารักกินผลไม้
โครงการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง ไปสู่เป้าหมาย 30 ตัน/ไร่
การผลิตเชื้อรา ไตรโคเดอร์มาชนิดสด
สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองราชบุรี
การจัดการองค์ความรู้ (KM) การทำนาข้าวโดยไม่เผาตอซัง
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
ขั้นตอนการผลิตเชื้อราไตรโคเดอร์ม่า ในข้าวสุก
พี่น้องปุ๋ยหมักโบกาชิ
การคัดพันธุ์ข้าว โดย ภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนายทองเหมาะ แจ่มแจ้ง
การทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพในบ่อเลี้ยงปลาดุก
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
การจัดการความรู้ เรื่อง การใช้สารชีวภัณฑ์แทนการใช้สารเคมี
ประชุมประจำเดือนมิถุนายน 2554 โดย.. นายเดชา กิตติตระกูล.
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
ข้อควรระวัง ! ในการผลิตเชื้อราไตรโคเดอร์มาชนิดสด
น้ำสกัดชีวภาพ BIOEXTRACT สารสารพัดประโยชน์ ครูไพฑูรย์ ศิริรักษ์
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
แบบประวัติและผลงานดีเด่น “ เกษตรกรดีเด่น ” ปี 2555 สาขา อาชีพทำนา นายวิสา ยางเอน 42 หมู่ 1 ตำบลนาวังหิน อำเภอพนัสนิคม.
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
การดูแลรักษาต้นทุเรียนเป็นโรค ชื่อจุดถ่ายทอดเรื่อง ไร่นาสวนผสม วิทยากรประจำจุด นางอุษา เปรมมิตร เบอร์ โทรศัพท์ สถานที่ดำเนินการ 46 หมู่ 7 ตำบลกระแจะ.
โดย ครูติดแผ่นดินข้าว เชียงราย สำนักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย
โดย ครูติดแผ่นดินลำไย เชียงราย
การเกษตร จัดทำโดย ด. ญ. ปุณนภา ปิวศิลป์ เสนอ ครู อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
โดย ครูติดแผ่นดินชา เชียงราย
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลหนองข่า อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย อัมพร เหง้ากอก เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
หน่วย เคลื่อนที่เร็ว วัตถุประสงค์ เพื่อควบคุมสถานการณ์ ศัตรูพืชและลดปัญหาการระบาด ได้ทันต่อเหตุการณ์ เป้าหมาย ครอบคลุมพื้นที่การระบาด ศัตรูพืช 76 จังหวัด.
การสนับสนุน ปัจจัยชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการองค์ความรู้ เรื่องการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ และการป้องกันกำจัดศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน สถานที่ดำเนินการ บ้านวังบง หมู่ที่ 10 ตำบลนาด้วง อำเภอนาด้วง จังหวัดเลย โดย นายอัศวิน สมัตถะ ตำแหน่งนวส.6ว เกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 32 คน กิจกรรม 1. การทำปุ๋ยหมักแบบเร่งด่วน 2. การทำปุ๋ยน้ำสกัดชีวภาพจากน้ำซาวข้าว 3. การทำปุ๋ยน้ำสกัดชีวภาพจากพืชที่โตเร็ว 4. การทำฮอร์โมนจากผลไม้สุกสีเหลือง 5. การใช้สมุนไพรกำจัดศัตรูพืช 6. การใช้สารชีวภัณฑ์

ปุ๋ยชีวภาพ

ปุ๋ยหมักแบบเร่งด่วน

การทำปุ๋ยหมักปรับปรุงบำรุงดิน การทำปุ๋ยหมักปรับปรุงบำรุงดิน   ส่วนผสม - มูลวัว  50 กก.  มูลเป็ด 25-30 กก. - รำละเอียด 5 กก. ยูเรีย 2 กก. - สารเร่งการทำปุ๋ยหมัก(พด1)   1 ซอง - เชื้อราไตรโครเดอร์มา ชนิดผง 2 ช้อนโต๊ะ หรือชนิดน้ำ 200 ซีซี - เศษหญ้าสับหรือขุยมะพร้าว  50 กก. ขั้นตอนการทำปุ๋ยหมัก    1.ผสมมูลวัว มูลเป็ด รำละเอียดและเศษหญ้า คลุกให้เข้ากัน 2. ยูเรีย 2 กก.ละลายน้ำ ผสมสารพด 1 และเชื้อไตรโครเดอร์มาร์  ราดลงบนกองปุ๋ย     3. เกลี่ยกองปุ๋ยให้แบนราบสูงไม่เกิน 30 ซม. จัดกองปุ๋ยให้เป็นระเบียบเพื่อลดความร้อนและใช้ผ้าพลาสติกคลุมกองปุ๋ย 4.กลับกองปุ๋ยทุก 3 วัน และผสมสารพด.1 และเชื้อไตรโครเดอร์มา ราดลงบนกองปุ๋ยทุกครั้ง จำนวน 5 ครั้ง           5. ตรวจสอบความชื้นในกองปุ๋ย โดยใช้มือกำจับตัวเป็นก้อน  และแตกออกมาไม่เกิน 4 ส่วนสามารถนำมาใช้ได้  อัตราการใช้ 1 กำมือ ต่อ 1 ตารางเมตร

ภาพกิจกรรม

กิจกรรมปุ๋ยหมัก โรงเรียน ตชด.บ้านหนองแคน