กระบวนการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดทำแผนบริหารจัดการชุมชน
Advertisements

นางกาญจนา แย้มลักษณะเลิศ
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
มูลนิธิสถาบันที่ดิน 9 กรกฎาคม 2550
กระแสโลกาภิวัตน์กับบทบาทด้านการคลัง (9-1-55)
กรอบแนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
สัปดาห์ที่ 2 เรื่อง โครงการสุขศึกษา
การพัฒนาสังคม Social Development 5 : 16 ธ.ค. 54.
วิสัยทัศน์ สหกรณ์และสถาบันเกษตรกร มีความเข้มแข็ง เป็นพลังในการพัฒนาประเทศ และสมาชิกอยู่ในสังคมที่อยู่เย็นเป็นสุข.
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
นโยบายและการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
ชุมชน สังคม ภาคใต้บน ชาติ นานาชาติ
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
วิสัยทัศน์ “ เป็นองค์กรที่พัฒนาระบบการบริหารจัดการ
Strategy Plan  ออม  การลงทุน  แก้ความจน ช่วยสังคม  เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย กำไร ความเข้มแข็ง ความ มั่นคง ทางการเงิน อย่างสมดุล / ยั่งยืนต่อเนื่อง ความเข้มแข็ง.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความเชื่อมโยงของเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต โครงการและกิจกรรม กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ยุทธศาสตร์ระดับชาติ
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
กลุ่มที่ 2 กลุ่มจังหวัดที่ 3.1 (นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี อ่างทอง) กลุ่มจังหวัดที่ 3.2 (ชัยนาท ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี) กลุ่มจังหวัดที่ 4.1 (กาญจนบุรี
(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
Dr. Panu Sittiwong Uttaradit Rajabhat University
โครงการเทียบเท่าผลผลิต ประจำปีงบประมาณ 2550
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายงานการฝึกอบรมโครงการ “ผู้นำเยาวชนคนพิการ พลิกฟื้นชุมชน สู่การพัฒนา”
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
ขั้นตอน/วิธีการปฏิบัติตามคู่มือสำนักงานคณะกรรมการกระจายอำนาจ ฯ
ชูศักดิ์ วิทยาภัค คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
“ยุทธศาสตร์การพัฒนาทุนทางสังคม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน”
ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร (ศวพก)
พรบ.ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
แนวคิดเครือข่ายและการประยุกต์ใช้ทางธุรกิจ
ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร
3 ลักษณะของประเทศด้อยพัฒนาหรือกำลังพัฒนา
รองเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การปฏิบัติที่สำคัญซึ่งสัมพันธ์กับความมั่นคง (ด้านเศรษฐกิจ)
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
นโยบายและการ ขับเคลื่อน วัตถุประสงค์ หลัก.
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
วาระแห่งชาติด้านการเกษตร (National Agenda)
แหล่งเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
โดย คุณมยุรี ผิว สุวรรณ. สุขภาพ - ภาวะของมนุษย์ที่ สมบูรณ์ทั้งกาย จิต ทางปัญญา และ สังคม เชื่อมโยงกันเป็นองค์ รวมอย่างสมดุล สุขภาพ - ภาวะของมนุษย์ที่
การขับเคลื่อนการดำเนินงาน เครือข่ายสภาวัฒนธรรม
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
ผลสัมฤทธิ์ของปราชญ์ : กรณีประเมินผล ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
การขับเคลื่อนวาระแห่งชาติด้าน การสหกรณ์ จังหวัดสุรินทร์ วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมทองธารินทร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กระบวนการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน จำนงค์ แรกพินิจ ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

1. สาเหตุของความยากจนในชนบทไทย การพัฒนาที่ไม่เท่าเทียม -ให้ความสำคัญกับเมืองมากกว่าชนบท -ให้ความสำคัญกับเศรษฐกิจธุรกิจหรือทุนนิยมมากกว่าเศรษฐกิจ ภาคประชาชนหรือเศรษฐกิจชุมชน -ให้ความสำคัญกับการผลิตเพื่อการค้ามากกว่าการผลิตเพื่อบริโภค

การเสียสมดุลของชนบท รายจ่าย รายได้ รายจ่าย รายจ่าย ชุมชนชนบทไทย รายได้ รายจ่าย รายจ่าย ภาพแสดงการเสียสมดุลของชนบทไทย

2. การแก้ปัญหาเศรษฐกิจชนบทไทยในช่วงที่ผ่านมา 1.การกระจายรายได้ - แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ.2515-2519) - แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ.2535-2539) เป็นเครื่องมือในการนำบริการและการพัฒนาของรัฐไปสู่ชนบท เช่น การกระจายบริการทางสังคมและการพัฒนาไปสู่ภูมิภาคและชนบท การพัฒนาศูนย์กลางความเจริญในภูมิภาคเป็นฐานเศรษฐกิจและการจ้างงาน เป็นต้น นโยบาย “สร้างงาน สร้างรายได้”

ภาพแสดงแนวคิดธุรกิจ-อุตสาหกรรมชุมชน 2. การเพิ่มรายได้ นำแนวคิดธุรกิจ-อุตสาหกรรมชุมชนเข้ามาใช้ กลุ่มอาชีพเสริม เพิ่มรายได้ รายจ่าย เพิ่มรายได้ ชุมชนชนบทไทย รายจ่าย รายได้ รายจ่าย ภาพแสดงแนวคิดธุรกิจ-อุตสาหกรรมชุมชน

3.วิสาหกิจชุมชน วงจรทุนชุมชน ภาพแสดงแนวคิดวิสาหกิจชุมชน เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย วงจรทุนชุมชน ชุมชนชนบทไทย รายได้ ภาพแสดงแนวคิดวิสาหกิจชุมชน

หลักสำคัญของวิสาหกิจชุมชน 1.แนวคิด สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ตัดสินใจล่าช้า รัฐสนับสนุน (จุดอ่อน) (จุดแข็ง) วิสาหกิจชุมชน บริษัทจำกัด แข่งขันสูง อิสระในการตัดสินใจ (จุดอ่อน) (จุดแข็ง)

2. การประกอบการ การประกอบการบนฐานทุน ความรู้ทรัพยากรธรรมชาติ และ ผลผลิต เชื่อมโยงกันเป็นระบบ ครบวงจร

3. คุณค่าของวิสาหกิจชุมชน - ฟื้นความสัมพันธ์ทางสังคมแบบพึ่งพาอาศัยกัน กลับคืนมา - ฟื้นอำนาจในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ ผลผลิตของชุมชน - ฟื้นการพึ่งตนเองทางเศรษฐกิจของชุมชน

วิสาหกิจชุมชนกับการแก้ปัญหา ความยากจนในชนบทไทย การกระจายการผลิต เปลี่ยนเกษตรกรจากผู้ผลิตวัตถุดิบ เป็น ผู้สร้างผลิตภัณฑ์ การกระจายโอกาส ในการเข้าถึง ทุน ทรัพยากร ความรู้ และ เทคโนโลยี

บทบาทของนักประกอบการและนักวิสาหกิจชุมชนกับ ศูนย์ศึกษาวิสาหกิจชุมชน - คน - การประกอบการ/กิจกรรม/การบริหารจัดการ - ความรู้/กระบวนการเรียนรู้

คน - นักประกอบการวิสาหกิจชุมชน ผู้รู้/ผู้สร้างผลิตภัณฑ์ เครือข่ายพัฒนาเพื่อพัฒนา ผลิตภัณฑ์/เทคโนโลยี/ความรู้ เรียกว่า วิสาหกิจชุมชนสัมพันธ์

- นักวิสาหกิจชุมชน ผู้นำ/ผู้สร้างกระบวนการเรียนรู้ เครือข่ายพัฒนานโยบาย/ยุทธศาสตร์/ แผน และการขับเคลื่อน เรียกว่า สภาวิสาหกิจชุมชน

กระบวนการเรียนรู้ของนักประกอบการวิสาหกิจชุมชน กรณีศึกษา ความรู้ วิสาหกิจชุมชน ตัวแบบ กระบวนการ วิธีการ กระบวนการเรียนรู้ของนักประกอบการวิสาหกิจชุมชน เศรษฐกิจและ ข้อมูล สังคมวัฒนธรรมชุมชน

กระบวนเรียนรู้ของนักวิสาหกิจชุมชน PEOPLE ประชาชน กระบวนเรียนรู้ของนักวิสาหกิจชุมชน IDENTIFICATION กระบวนการสำรวจ(ค้นหา) MODEL ตัวแบบ CONCEPT- UALIZATION พัฒนาองค์ความรู้ NETWORKING กระบวนการเครือข่าย PUBLIC เผยแพร่ POs องค์กรชุมชน POLICY พัฒนานโยบาย

ศูนย์ศึกษาการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนฯ 1. พัฒนาคน นักวิสาหกิจชุมชน นักประกอบการวิสาหกิจฯ 2. พัฒนาวิสาหกิจชุมชนต้นแบบบนฐาน ผลผลิตและทรัพยากรของชุมชนท้องถิ่น ระบบ การจัดการ กระบวน การ 3. สร้างเครือข่าย วิสาหกิจชุมชน เครือข่ายภายในชุมชน เครือข่ายภายนอกชุมชน 4. พัฒนาโครงสร้างศูนย์ฯ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนฯ