การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2526 ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศูนย์บริหารศัตรูพืช สแนท
Advertisements

ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
การผลิตเชื้อจุลินทรีย์เพื่อควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืช
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
Formulation of herbicides Surfactants
วิชายาและการใช้ยาสัตว์ (Animal Drugs and Usage) รหัสวิชา
แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
ไฮโดรโปนิกส์ Hydroponics.
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
ผักปลอดภัยจากสารพิษ นางสาววรรณิศา เลี่ยมดำ ภาคพัฒนาการเกษตร
การป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมสาน
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
วิกฤตการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย
อาจารย์วีระศักดิ์ สืบเสาะ
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
Evaluation of pesticides interaction Herbicide-herbicide interaction
II. Post harvest loss of cereal crop
สารเมลามีน.
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
การเฝ้าระวัง การสอบสวน และผลกระทบ เนื่องจากสารเคมีอันตราย
เชื้อ Aeromonas hydrophila ที่ก่อโรคในปลาน้ำจืด
การจำแนกชนิดผลิตภัณฑ์สุขภาพ
เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
สารเคมีที่ใช้ในการควบคุม แมลงนำโรค
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
โรคสำคัญที่พบในการเลี้ยงไก่ฟ้า รศ. น. สพ
สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
เกษตรอินทรีย์ ชื่อกลุ่ม: ผลไม้ สมาชิกในกลุ่ม
1 ผักปลอดสารพิษ ผลผลิตพืชผักที่ไม่มีสารเคมีป้องกันและกำ จัดศัตรูพืชตกค้างอยู่ หรือมีตกค้างอยู่ไม่เกินระดับมาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
การสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากร
การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม
การผลิตเชื้อรา ไตรโคเดอร์มาชนิดสด
วัชพืชที่สำคัญในนาข้าว และการป้องกันกำจัด
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
สารเคมีแช่ท่อนพันธุ์
การสำรวจช่วยเหลือป้องกันกำจัดศัตรูพืช
ความสำคัญ ของการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย โดย ดวงเดือน สมวัฒนศักดิ์ ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต สสข.1 ชัยนาท.
น้ำหมักปลาร้าปราบ เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง โดย นายอาสา ประทุมศาลา นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ.
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
นายสุพจน์ ไชยวรรณ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ ฟางข้าวกับยางพารา
ล้าง 3 ครั้ง ทุกหยดคุ้มค่า รักษาสิ่งแวดล้อม
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
งานวิจัยของภาควิชากีฏวิทยา
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
( Natural farming) เกษตรธรรมชาติ.
Globally Harmonized System : GHS
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
ระบบเกษตรแบบผสมผสาน.
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
การจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
สถานที่ปรุง ประกอบ จำหน่ายอาหาร
ดินเปรี้ยว ดินเปรี้ยว หรือดินกรด (Acid soil) หมายถึง ดินที่มีค่า pH วัดได้ต่ำกว่า 7.0 ดังนั้น ดินเปรี้ยวจัด (Acid sulfate soil) จึงเป็นดินเปรี้ยวหรือดินกรดชนิดหนึ่ง.
เชื้อรา แบคทีเรีย โปรโตซัว ไวรัส สาหร่าย
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
การเจริญเติบโตของพืช
อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
หลักการและแนวทางจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
นางสาวธัญชนก นาคพล ภาควิชา พัฒนาการเกษตร.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2526 ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide Association: TPA)” และได้เปลี่ยนชื่อเป็น "สมาคมอารักขาพืชไทย : ส.อ.ท. (Thai Crop Protection Association: TCPA)" ในวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2538 วัตถุประสงค์หลักของสมาคม ฯ คือ การสนับสนุนสมาชิกซึ่งเป็นผู้ผลิตและจำหน่ายสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชให้มีการดำเนินธุรกิจบนพื้นฐานของจรรยาบรรณ ส่งเสริมการใช้สารฯ ให้เกิดประโยชน์และไม่เกิดโทษต่อผู้ใช้ ผู้บริโภค และสภาพแวดล้อม ตลอดจนเป็นสื่อกลางในการร่วมแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวเนื่องกับสารป้องกันกำจัดศัตรูพืช สมาคมอารักขาพืชไทย เป็นสมาคมที่ไม่หวังผลกำไร ไม่ดำเนินการทางการค้าหรือการเมือง งบประมาณดำเนินกิจกรรมได้มาจากค่าสมาชิก ซึ่งเรียกเก็บจากบริษัทสมาชิกเป็นรายปี การดำเนินงาน ของสมาคมได้รับความร่วมมือโดยการเสียสละในรูปบุคคลากรและค่าใช้จ่ายจากสมาชิก ในปี 2548 นี้ สมาคมมีสมาชิกสามัญ จำนวน 35 บริษัท และ โดยส่วนแบ่งการตลาดสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในประเทศประมาณ 70-80 เปอร์เซ็นต์

แมลง > 10,000 ชนิด โรค > 1,500 โรค เชื้อไวรัส > 250 โรค ในโลกเรามีสิ่งมีชีวิตที่คอยทำลายพืชผลที่เป็นอาหาร แมลง > 10,000 ชนิด โรค > 1,500 โรค เชื้อไวรัส > 250 โรค วัชพืช > 1,800 ชนิด ไส้เดือนฝอย > 1,500 ชนิด

ความสูญเสียที่เกิดจากการทำลายของศัตรูพืช องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติได้ประเมินความสูญเสียของผลผลิตพืชที่ใช้เป็นอาหารของมนุษย์และสัตว์ในแต่ละปีมีประมาณ 30 % ของการผลิตทั่วโลก ซึ่งในจำนวนนี้ 30-40 % เป็นความเสียหายที่เกิดจากการทำลายของศัตรูพืช ข้อมูล : กองกีฏและสัตววิทยา . กรมวิชาการเกษตร . การป้องกันกำจัดศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน ครั้งที่ ๔ . ๒๕๔๔ .หน้า ๓๗ .

*แมลงเป็นสัตว์โลกที่มีมากกว่า 1,000,000 ชนิด โลกของแมลง *แมลงเป็นสัตว์โลกที่มีมากกว่า 1,000,000 ชนิด *ส่วนใหญ่มีประโยชน์ ที่เป็นโทษ < 1 เปอร์เซ็นต์ *มนุษย์รบกับแมลงมาเป็นเวลานาน ยิ่งปราบยิ่งเพิ่ม ยิ่งยุ่งยากซับซ้อน ยิ่งสิ้นเปลือง *แม้ใช้สารเคมีมานานกว่า 60 ปี แต่ยังคงมีศัตรูพืช ระบาดอย่างต่อเนื่อง และรุนแรงขึ้น *แสดงว่าสารเคมีไม่อาจแก้ปัญหาได้อย่างจริงจัง หรืออาจกล่าวได้ว่ามนุษย์ไม่เคยชนะแมลงเลย *เพราะมนุษย์ไม่เคยรู้จักแมลงจริงๆเลย เราไม่รู้จัก ศัตรูของเราเลย แล้วเราจะรบชนะเขาได้อย่างไร

ทำไมเกษตรกรจึงต้องใช้สารเคมี เกษตรกรไม่ต้องการเสี่ยงกับการขาดทุน พ่นสารเคมี ทันที เมื่อพบ ศัตรูพืช พ่นสารเคมีต่อ เพราะพ่นครั้ง ก่อนไม่ได้ผล เกษตรกรไม่ต้องการเสี่ยงกับการขาดทุน พ่นสารเคมีตาม ระยะการเจริญ เติบโตของพืช พ่นสารเคมี ตามเพื่อนบ้าน ใช้สารกำจัดศัตรูพืช หลายชนิดเพื่อ ควบคุมศัตรูพืช

การใช้สารเคมีเกิดผลเสียอย่างไร * ศัตรูพืชสร้างภูมิต้านทานสารเคมี * ศัตรูธรรมชาติถูกทำลาย * ศัตรูพืชระบาดอย่างต่อเนื่องและรุนแรงขึ้น * เกษตรกรผู้ใช้ได้รับอันตรายจากสารเคมี * มีสารพิษตกค้างในผลผลิตเป็นอันตรายต่อผู้บริโภค และสภาพแวดล้อม

สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ได้แก่ - สารกำจัดวัชพืช - สารกำจัดหนู - สารกำจัดแมลง - สารกำจัดหอย - สารป้องกันและกำจัดโรคพืช - สารกำจัดไร - สารป้องกันและกำจัดแบคทีเรีย - สารกำจัดไส้เดือนฝอย

คุณสมบัติของสารเคมีกำจัดศัตรูพืช มีความเป็นพิษ ติดไฟง่าย เป็นสารกัดกร่อน มีอันตรายเมื่อเปียกน้ำ เป็นอันตรายต่อผู้ใช้ ผู้บริโภค และสิ่งแวดล้อม

พิษจากสารป้องกันและกำจัดศัตรูพืช พิษเฉียบพลัน พิษระยะปานกลาง พิษเรื้อรัง

การใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกต้องและปลอดภัย คำแนะนำ การใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกต้องและปลอดภัย

1) ชนิดของสาร 2) ชื่อการค้า 3) ชื่อสามัญ 4) ขึ้นทะเบียนถูกต้อง

ชื่อบริษัทผู้จำหน่าย ชื่อการค้า ชื่อสามัญ ชื่อบริษัทผู้จำหน่าย

1. สารชนิดใด 2. ชื่อการค้า 3. ชื่อสารสามัญ 4. เลขทะเบียน 5. ปริมาณ 6. แถบสี

7. วิธีการใช้ 8. ข้อควรระวัง 9. การเก็บรักษา 10. การเกิดพิษ 11. การแก้พิษ 12. วันที่ผลิต 13. บริษัทที่ผลิต

ฉลาก สารป้องกันกำจัดศัตรูพืช แถบสีและสัญลักษณ์รูปภาพ This slide explain to farmer for understanding in PPE recommendation during mixing (red circle) and spraying (green circle)

ตัวอย่าง รูปภาพสัญลักษณ์

แนวทางในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช 1. ศัตรูพืชระบาดรุนแรง (ชนิดและปริมาณ) 2. อากาศเหมาะสมต่อการระบาดเพิ่มของศัตรูพืช 3. เป็นระยะสำคัญของการเจริญเติบโตของพืช 4. ศัตรูธรรมชาติมีน้อยไม่สามารถรักษาสมดุลย์ 5. เลือกใช้สารให้ตรงกับชนิดศัตรูพืช 6. หลีกเลี่ยงการใช้สารที่มีพิษสูงหรือการผสมมากชนิด

อ่านฉลากก่อนใช้ และปฏิบัติตามคำแนะนำในฉลาก และปฎิบัติตามคำ แนะนำในฉลาก อ่านฉลากก่อนใช้ และปฏิบัติตามคำแนะนำในฉลาก

อย่าใช้มือผสมสาร ให้ใช้ไม้กวน หรือคลุกให้เข้ากัน อย่าใช้มือผสมสาร ให้ใช้ไม้กวน หรือคลุกให้เข้ากัน

หยุดฉีดพ่นก่อนเก็บเกี่ยวตามคำแนะนำในฉลาก

อย่าล้างอุปกรณ์ลงไปในน้ำ บ่อ คลอง

สารเคมีกำจัดศัตรูพืช เข้าสู่ร่างกายได้อย่างไร สารเคมีกำจัดศัตรูพืช เข้าสู่ร่างกายได้อย่างไร โดยทางปาก โดยทางผิวหนัง โดยทางจมูก

สารพิษเข้าสู่ร่างกายทางระบบหายใจ ก่อให้เกิดความระคายเคืองต่อจมูก ลำคอ ทางเดินหายใจส่วนต้น และสะสมในปอด มีผลทำลายสมอง และอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย

ลำดับการซึมเข้าสู่ร่างกายทางผิวหนัง 1. ตา 2. อวัยวะสืบพันธุ์ 3. หู 4. ศีรษะ 5. หน้าท้อง 6. ฝ่าเท้า 7. อุ้งมือ