รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นการตรวจติดตาม
Advertisements

กรอบนโยบาย แผนงาน/โครงการที่จะดำเนินการ
ประเด็นเน้นหนัก โครงการส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน 2550
สรุปการถอดบทเรียนของ Smart Officer ต้นแบบ
รายงานการระบาดศัตรูพืช
โครงการเพิ่มศักยภาพการผลิตข้าวและสร้างความเข้มแข็งให้ชาวนา เพื่อรองรับผลกระทบจากการเปิดเสรีการค้าอาเซียน (AFTA) ประสานงานกับกรมการข้าว และสำนักงานเกษตรจังหวัด.
กลยุทธการผลิตและการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวของประเทศไทย
ระบบการปลูกข้าวใหม่ ของประเทศไทย
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
กลุ่มที่ 2 กลุ่มจังหวัดที่ 3.1 (นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี อ่างทอง) กลุ่มจังหวัดที่ 3.2 (ชัยนาท ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี) กลุ่มจังหวัดที่ 4.1 (กาญจนบุรี
สำนักวิชาการและแผนงาน
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 30 มิถุนายน 2555 สำนักวิชาการและ แผนงาน.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 31 พฤษภาคม 2555.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 15 มิถุนายน 2555.
แนวทางการประชุมกลุ่ม
นพ.สมจิตร ศรีศุภร นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
แหล่งที่มา : ณ 30 มค 50.
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม 2551 Darunee Phosri :30551.
การถ่ายโอนภารกิจให้องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
การปฏิบัติตามแนวทางถ่ายโอนภารกิจฯ จังหวัดเพชรบูรณ์ 1
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
โครงการพัฒนามาตรการป้องกัน เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
การดำเนินงานปรับปรุงข้อมูลทะเบียนเกษตรกร (จำแนกกิจกรรมการเกษตรรายแปลง)
โครงการพัฒนาระบบการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี
สุริชาติ สมวัฒนศักดิ์ นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ ยอดธงไชย รอดแก้ว
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน
วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเพิ่มพูนความรู้เรื่องการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานให้กับเกษตรกร ๒.เพื่อให้เกษตรกรสามารถจัดการศัตรูพืชได้ด้วยตัวเองอย่างยั่งยืน.
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
วิลาวัลย์ วงษ์เกษม ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมการผลิตพืชเส้นใยและพืชหัว
รายงานสถานการณ์การระบาดเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง
การดำเนินงานการบริหารศัตรูพืช
การสำรวจช่วยเหลือป้องกันกำจัดศัตรูพืช
ครั้งที่ 1 วันที่ กุมภาพันธ์ 2556
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
การถ่ายโอนภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตพืชเศรษฐกิจ (สับปะรด)
โครงการบริหารการจัดการศัตรูพืชและการเขตกรรมเพื่อลดความเสี่ยงให้กับเกษตรกร สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร.
ประชุมประจำเดือนมิถุนายน 2554 โดย.. นายเดชา กิตติตระกูล.
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
การสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช
ระบบเตือนภัยศัตรูพืช
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ 2553 สำนักงานประมงจังหวัดอุตรดิตถ์ ณ เดือนสิงหาคม 2553 สำนักงานประมงจังหวัด อุตรดิตถ์ ณ วันที่ 30 สิงหาคม 2553 เสนอ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตร.
การประชุมเชิงปฏิบัติการ “ความสุขคนไทย” ระหว่างวันที่ กันยายน 2554.
1 5 มีนาคม 2552 ดร. อภิชาติ พงษ์ ศรีหดุลชัย เครือข่าย สารสนเทศ ข้าวไทยใน อนาคต.
การตรวจราชการและนิเทศงานฯ
โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ
กลุ่มที่ 1 ประกอบด้วย 1. จังหวัดนนทบุรี 2. จังหวัดปทุมธานี 3. จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 4. จังหวัดสระบุรี 5. จังหวัดชัยนาท 6. จังหวัดลพบุรี 7. จังหวัดสิงห์บุรี
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
สรุปการดำเนินรายการวิทยุ “ หมอทาง ” ของหน่วยงานส่วนภูมิภาค ณ เดือนพฤษภาคม 2555.
โครงการบริหารจัดการผลไม้ ภาคตะวันออก ปี 2552 สำนักงานจังหวัดตราด ได้รับอนุมัติวงเงิน 6,200,000 บาท ดังนี้
กรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนผู้ปลูกข้าว รอบที่ 1 ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และภาคใต้ที่ปลูกเหมือนภาคอื่นๆ.
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
หน่วย เคลื่อนที่เร็ว วัตถุประสงค์ เพื่อควบคุมสถานการณ์ ศัตรูพืชและลดปัญหาการระบาด ได้ทันต่อเหตุการณ์ เป้าหมาย ครอบคลุมพื้นที่การระบาด ศัตรูพืช 76 จังหวัด.
การจัดการความรู้ (KM) ปี 2558 สำนักงานเกษตรอำเภอหนองแซง จังหวัดสระบุรี
ข้อมูล ณ วันที่ 1 สิงหาคม 2555 ประจำปีงบประมาณ 2555 ( เมษายน - กันยายน 2555) ผลการ ปฏิบัติงาน.
การสนับสนุน ปัจจัยชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด สถานการณ์การระบาดเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล ระหว่างวันที่ 16 – 22 มิ.ย. 54 รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด พื้นที่ที่ไม่พบการระบาด 21 จังหวัด ได้แก่ จ.พระนครศรีอยุธยา สระบุรี ลพบุรี ชัยนาท อ่างทอง สิงห์บุรี นนทบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม ราชบุรี กาญจนบุรี พิษณุโลก พิจิตร อุทัยธานี นครสวรรค์ เพชรบูรณ์ กำแพงเพชร นครนายก ระยอง เลยและพัทลุง พื้นที่ที่พบการระบาดเพลี้ยฯ 1 จังหวัด ได้แก่ จ.ปทุมธานี 40 ไร่ รวมพื้นที่ระบาด 40 ไร่ พื้นที่ที่พบการระบาดเพลี้ยฯ แต่ยังไม่ทำความเสียหาย ได้แก่ จ.ปทุมธานี 11,820 ไร่ พื้นที่ระบาดจำแนกตามอายุข้าว มากกว่า 60 วัน 40 ไร่

ปัจจัยที่มีผลต่อการระบาดลดลง ใช้เชื้อราบิวเวอเรียพ่นกำจัดเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล มีฝนตกอย่างต่อเนื่องทำให้สภาพอากาศไม่เหมาะสมต่อการขยายพันธุ์ของเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล การคาดการณ์ ในช่วงปลายเดือนมิถุนายนถึงต้นเดือนกรกฎาคม จะพบเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลตัวอ่อนเป็นบางจุด ของพื้นที่

แนวทางกรมส่งเสริมการเกษตรร่วมกับกรมการข้าวดำเนินโครงการควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล ปี 2554 กรมส่งเสริมการเกษตร ในส่วนที่เกี่ยวข้องมีกิจกรรมดังนี้ 1. จัดตั้งศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน จำนวน 300 ศูนย์ใน 20 จังหวัดๆ 15 ศูนย์ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา สระบุรี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง ลพบุรี นครปฐม ราชบุรี สุพรรณบุรี กาญจนบุรี นครนายก ฉะเชิงเทรา นครสวรรค์ พิษณุโลก อุทัยธานี กำแพงเพชรและพิจิตร การเฝ้าระวัง - อบรมสร้างวิทยากร 65 คน - อบรมเกษตรกรแกนนำ 1,800 คนจาก 300 ศูนย์ๆละ 6 คน - แปลงติดตามสถานการณ์ 300 แปลง มีการเก็บข้อมูลอย่างต่อเนื่อง การเตือนภัย เมื่อสำรวจพบเพลี้ยฯมีแนวโน้มการระบาดให้ประกาศเตือนภัยล่วงหน้าทางหอกระจายข่าวและวิทยุท้องถิ่น เพื่อให้เกษตรกรเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด มีวัสดุอุปกรณ์ศูนย์ละ 1 ชุด รวม 300 ชุด สำหรับเรียนรู้และฝึกปฏิบัติในการผลิตขยายเชื้อราบิวเวอเรียควบคุมเพลี้ยกระโดดฯเป็นการป้องกันการระบาด

วงจรชีวิตเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล แนวทางกรมส่งเสริมการเกษตรร่วมกับกรมการข้าวดำเนินโครงการควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล ปี 2554(ต่อ) 2. การรณรงค์และประชาสัมพันธ์การควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล รณรงค์ใช้เชื้อราบิวเวอเรียควบคุมเพลี้ยกระโดดฯตัวอ่อน ข้อมูลทางวิชาการ การจัดการ วันที่ วงจรชีวิตเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล วิธีการ แหล่งสนับสนุน 23 มิ.ย. – 9 ก.ค. 54 ตัวอ่อน รณรงค์ลดประชากรตัวอ่อนโดยใช้เชื้อราบิวเวอเรียพ่นและวิธีการอื่นๆโดยดำเนินการพร้อมกันทุกพื้นที่ที่มีการระบาด ศจช ผลิตขยายเชื้อราบิวเวอเรียเพื่อใช้พ่นควบคุมเพลี้ยกระโดดฯ ศูนย์เดิม 463 ศูนย์ ศูนย์ใหม่ 300 ศูนย์(กรมข้าว) ศูนย์บริหารศัตรูพืช ในเขตรับผิดชอบสนับสนุนหัวเชื้อบิวเวอเรีย การประชาสัมพันธ์ จัดทำข่าวประชาสัมพันธ์และเตือนการระบาด จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์การรณรงค์การควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล จัดทำชุดนิทรรศการการควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล จัดทำเอกสารแผ่นพับการประเมินพื้นที่การระบาดและมาตรการควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล จัดทำเอกสารคู่มือการควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล 3. การสนับสนุนเมล็ดพันธ์ต้านทานเพื่อทดแทนพันธุ์อ่อนแอ โดยกรมส่งเสริมการเกษตรทำหน้าที่ประสานกับสำนักงานเกษตรจังหวัดให้ส่งรายชื่อเกษตรกรผู้ประสบภัยการระบาดที่จะขอรับเมล็ดพันธืต้านทานตามหลักเกณฑ์ที่เข้าร่วมโครงการภายในวันที่ 15 ก.ค. 54 สำหรับกรมการข้าวส่งมอบเมล็ดพันธุ์ข้าวให้สำนักงานเกษตรอำเภอเพื่อมอบให้เกษตรกร

วงจรชีวิตเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล แนวทางกรมส่งเสริมการเกษตรร่วมกับกรมการข้าวดำเนินโครงการควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล ปี 2554(ต่อ) กรมการข้าว ดำเนินกิจกรรมรณรงค์กำจัดตัวเต็มวัยโดยใช้กับดักแสงไฟ ข้อมูลทางวิชาการ การจัดการ วันที่ วงจรชีวิตเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล วิธีการ แหล่งสนับสนุน 10 – 24 ก.ค. 54 ตัวเต็มวัย สนง.เกษตรจังหวัดร่วมกับองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น รณรงค์ลดประชากรตัวเต็มวัยโดยใช้กับดักแสงไฟและวิธีการอื่นๆโดยดำเนินการพร้อมกันทุกพื้นที่ที่มีการระบาด กรมการข้าว 2,000 ชุด(20 จังหวัดในโครงการ)

แผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบการระบาดเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล ระหว่างปี 2552/2553 กับ ปี 2553/2554 จากข้อมูล 14 จังหวัด 27,353 ไร่ 40 ไร่

แผนภูมิแสดงการระบาดเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล ปี 2553/2554 จากข้อมูล 76 จังหวัด 40ไร่