ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550
Advertisements

GES : มิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ
มาตรการประหยัดพลังงาน ตามมติคณะรัฐมนตรี 20 มีนาคม 2555
ชื่อกลุ่ม เติมใจให้กัน
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
การปรับปรุงหลักเกณฑ์วิธีปฎิบัติในการอ่านหน่วยการใช้ไฟฟ้า 01/06/2012
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลมติคณะรัฐมนตรี
ระบบสารสนเทศแผนงานบำรุงทาง
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 10 (จังหวัด)
ห้องประชุม กรมชลประทานที่ 11 ปากเกร็ด นนทบุรี
การดำเนินการ ขั้น 1 : ◊ แต่งตั้งคณะทำงาน ◊ จัดทำแผนดำเนินการ (Roadmap) ◊ จัดประชุมชี้แจง คณะทำงานดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ควรประกอบด้วย.
เอกสารเคมี Chemistry Literature
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
การควบคุมการใช้ยานพาหนะและ การรายงานการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง
เรื่อง การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย
รายงานและการประเมินผล การปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน
คำอธิบาย ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร
คำอธิบาย ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการ
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
1. แจ้งหน่วยงานให้ทราบวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ครั้งที่ 1/2555
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
Data On Web 2552 ศูนย์ปฏิบัติการ สพฐ. ศูนย์ปฏิบัติการ สพฐ
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
กฎ ก.พ. ว่าด้วยการทดลองปฏิบัติหน้าที่
ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราว ของข้าราชการและลูกจ้างประจำของส่วนราชการ (ฉบับที่ 5) พ.ศ
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จ ในการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ
หมวด2 9 คำถาม.
คู่มือการใช้งานระบบ DOC รายงานผลการปฏิบัติราชการ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
เจ้าภาพหลัก สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน
การจัดเก็บข้อมูลภูมิปัญญา
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
ลักษณะการจัดเก็บข้อมูลและขอบเขตข้อมูล
โดย : สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงาน
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
3.3 ร้อยละผลการปฏิบัติงานตาม แผนกลยุทธ์การสร้างราชการใส สะอาดของกรุงเทพมหานคร 4.3 การดำเนินการของเรื่อง ร้องเรียนเกี่ยวกับการทุจริตของ หน่วยงาน 4.4 ร้อยละของความสำเร็จของ.
ตัวชี้วัด :3.2 ระดับความสำเร็จในการแก้ไขเรื่อง ร้องเรียนจากประชาชน / ผู้รับบริการ โดย กองกลาง สำนักปลัด กรุงเทพมหานคร น้ำหนัก คะแนน : โดยนำผลคะแนนรวมในขั้นตอนที่
ตัวชี้วัดที่ 2.4 ระดับความสำเร็จของการจัดทำระบบการบริหารความเสี่ยงและการควบคุม-ภายใน ประจำปีงบประมาณ 2557.
สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ  ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับกรอบ การประเมินผล ชี้แจงทำความเข้าใจและ มอบหมายงานให้ผู้ที่ เกี่ยวข้องรับผิดชอบ ดำเนินการ  จัดทำคำรับรองระดับหน่วยงาน.
โครงสร้างฟอร์มการรายงานข้อมูล
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
วันอังคารที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ.2551
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ ก. พ
การอนุรักษ์พลังงาน ในระบบปรับอากาศ.
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
ระบบติดตามผลการปฏิบัติราชการสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การควบคุมบัตรเติมน้ำมันรถราชการ
มาตรการประหยัดพลังงาน
โดย อารมณ์ ผิวดำ สพม.38 (สุโขทัย-ตาก)
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
สรุปประเด็นข้อตรวจพบ
ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ.
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวก ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ
ประจำปีงบประมาณ พ. ศ.2551 ( เฉพาะในส่วนที่ เกี่ยวข้อง ) ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด ราชบุรี ผลงานถึงเดือนพฤษภาคม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน วิธีการรายงาน ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน www.e-report.energy.go.th

ขั้นตอนการรายงาน เข้าระบบ www.e-report.energy.go.th พิมพ์รหัสสมาชิก (User)** รหัสผ่าน (Password)** Click “เข้าระบบ” Log in และ Password ระดับกรม  Click ดูรหัส ☎ ถาม สนพ. โทร 0 2612 1555 ต่อ 364, 358 หน่วยงานย่อย ถาม หน่วยงานบังคับบัญชา ที่สูงขึ้นไป 1 ลำดับ

หน้ารายการหลัก แต่ละหน่วยงานบันทึกข้อมูลของหน่วยงานเอง ระบบจะประมวลผลและสรุปรายงานให้อัตโนมัติ คะแนนระดับที่ 1 แต่งตั้งคณะทำงาน จัดทำแผนปฏิบัติการ รายงานผล 2 ครั้ง คะแนนระดับที่ 2 ข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้า และน้ำมันเชื้อเพลิง ปี 51, 54, 55 บันทึกข้อมูลให้ครบถ้วนทุกเดือน เกี่ยวกับหน่วยงาน

ข้อมูลเกี่ยวกับหน่วยงาน บันทึกข้อมูลเกี่ยวกับหน่วยงาน * หมายถึงบังคับต้องบันทึก ชื่อหน่วยงาน ที่ตั้ง /โทร /โทรสาร 3. ชื่อผู้ประสานงาน ลำดับที่ 1 * จำเป็นต้องบันทึก ชื่อ /ตำแหน่ง ที่ตั้ง /โทร /โทรสาร /e-mail

คณะทำงานลดใช้พลังงาน พิจารณาการแต่งตั้งคณะทำงานลดการใช้พลังงาน คะแนนเต็ม ด้านไฟฟ้า 0.1250 + ด้านน้ำมัน 0.1250    พิมพ์ ชื่อ ตำแหน่ง โทรศัพท์ คณะทำงานเป็นรายบุคคลในกรอบ ช่องว่างที่ปรากฏ ทำซ้ำจาก (1) ถึง (3) จนครบรายชื่อคณะทำงานฯ ตามคำสั่งแต่งตั้ง 

วันที่แต่งตั้งคณะทำงานฯ พิจารณาวันที่ลงนามในคำสั่งแต่งตั้ง ให้อยู่ระหว่าง 21 มีนาคม 2555ถึง 30 มิถุนายน 2555 คะแนนเต็ม ด้านไฟฟ้า 0.1250 + ด้านน้ำมัน 0.1250 พิมพ์ วัน/เดือน/ปี ที่ลงนามใน คำสั่งแต่งตั้ง Click เพื่อเลือก วัน/เดือน/ปี ตามปฏิทิน 

แผนปฏิบัติมาตรการประหยัดพลังงาน แผนลดการใช้พลังงาน พิจารณาแผนและมาตรการลดการใช้พลังงาน คะแนนเต็ม ด้านไฟฟ้า 0.1250 + ด้านน้ำมัน 0.1250 แผนปฏิบัติมาตรการประหยัดพลังงาน  คัดลอก “Copy”    วาง “Paste” 

รายงานการติดตามผล   พิจารณาจำนวนครั้งที่รายงาน 2 ครั้ง คะแนนเต็ม ด้านไฟฟ้า 0.1250 + ด้านน้ำมัน 0.1250 พิมพ์เลขที่เอกสารที่ใช้อ้างอิง ในการรายงานติดตาม มาตรการประหยัดพลังงานให้ หัวหน้าส่วนราชการทราบ เลือกเอกสารอ้างอิงอย่างหนึ่ง อย่างใดต่อไปนี้ รายงานการประชุม (ครั้งที่ xx/2555) บันทึกข้อความ (xx/yy)  

ข้อมูลปริมาณใช้พลังงาน พิจารณาความครบถ้วนข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าของปีงบประมาณ 2551, 2554 และ 2555 คะแนนเต็ม ด้านไฟฟ้า 0.5000 + ด้านน้ำมัน 0.5000       ข้อมูลการใช้ไฟฟ้า (kWh) เก็บจากใบเสร็จรับเงิน ค่าไฟฟ้าที่การไฟฟ้าออกให้กับหน่วยงาน ข้อมูลการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง (ลิตร) เก็บจาก ใบเสร็จรับเงิน ที่ผู้จำหน่ายน้ำมันเชื้อเพลิง ออก ให้กับหน่วยงาน น้ำมันเชื้อเพลิง (ลิตร) ประเภท ดีเซล เบนซิน 91 และเบนซิน 95 รวมในช่องเดียวกัน คือช่อง “น้ำมัน”    ระบบจะนำข้อมูลที่หน่วยงานบันทึกไว้ มาแสดงผลโดยอัตโนมัติ 

เกณฑ์การให้คะแนนประเมินผล ด้านไฟฟ้า =2.5 คะแนนการประเมินผลการประหยัดพลังงาน คิดจากคะแนนเฉลี่ยของหน่วยงานในสังกัดทั้งหมด โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนนของแต่ละหน่วยงาน ระดับ ประเด็น คะแนน 1 1.1 จัดตั้ง “คณะทำงานลดใช้พลังงาน” และหัวหน้าหน่วยงานลงนามใน คำสั่งแต่งตั้งระหว่างวันที่ 21 มีนาคม - 30 มิถุนายน 2555 0.250   1.2 จัดทำ “แผนปฏิบัติการลดการใช้ไฟฟ้า” และรายงานติดตามผล 2 ครั้ง 2 2.1 ข้อมูล ปริมาณการใช้ไฟฟ้า (kWh) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครบถ้วน 0.150 2.2 ข้อมูล ปริมาณการใช้ไฟฟ้า (kWh) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ครบถ้วน 2.3 ข้อมูล ปริมาณการใช้ไฟฟ้า (kWh) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ครบถ้วน 0.200 3 ปริมาณการใช้ไฟฟ้า ไม่เปลี่ยนแปลง 0.500 4 ประหยัดไฟฟ้าได้ มากกว่าร้อยละ 0.0001 ถึง ร้อยละ 5.0000 5 ประหยัดไฟฟ้าได้ มากกว่าร้อยละ 5.0001 ถึง ร้อยละ 10.000 ขึ้นไป * หน่วยงานที่มีปริมาณการใช้ไฟฟ้าในปีงบประมาณ 2554 เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบ กับปีงบประมาณ 2551 ต้องประหยัดไฟฟ้าให้ได้ร้อยละ 15.000 ขึ้นไป 0.5 0.5 1.5 การประเมินผลประหยัดพลังงาน ด้านการใช้ไฟฟ้า และน้ำมันใช้หลักการเดียวกัน โดยปริมาณการใช้ไฟฟ้า (kWh) จะเปลี่ยนเป็น ปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง (ลิตร)

วิธีการเรียกดูผลประเมิน   

ดูการใช้พลังงานรายปี  

ส่วนราชการ/จังหวัด/สถาบันอุดมศึกษา การแสดงผลข้อมูล ส่วนราชการ/จังหวัด/สถาบันอุดมศึกษา  ชื่อ ส่วนราชการ/จังหวัด/สถาบันอุดมศึกษา หากชื่อเป็น อักษรสีแดง มีหน่วยงานใต้สังกัดที่ไม่ได้จัดตั้งขึ้นตามกฎกระทรวง คะแนนระดับที่ 1 และ 2 คะแนนเฉลี่ยความครบถ้วนของข้อมูลด้านไฟฟ้า (เต็ม 1.0000) คะแนนเฉลี่ยความครบถ้วนของข้อมูลด้านน้ำมัน (เต็ม 1.000) ร้อยละความสำเร็จที่ได้รับจากการประหยัดไฟฟ้า (เต็ม 1.5000) ร้อยละความสำเร็จที่ได้รับจากการประหยัดน้ำมัน (เต็ม 1.5000) สรุปผลการประเมินระดับความสำเร็จแสดงผลเป็นคะแนนที่ได้รับ (เต็ม 5.000)     

ส่วนราชการ/จังหวัด/สถาบันอุดมศึกษา แสดงผลละเอียด ส่วนราชการ/จังหวัด/สถาบันอุดมศึกษา

ส่วนราชการ/จังหวัด/สถาบันอุดมศึกษา แสดงผลระดับหน่วยงาน ส่วนราชการ/จังหวัด/สถาบันอุดมศึกษา

แสดงผลละเอียด ระดับหน่วยงาน

เหตุที่สามารถขอเปลี่ยนแปลงฯ  ไม่มีข้อมูลการใช้ไฟฟ้า/น้ำมัน เชื้อเพลิง ปี 2554 จะขอยกเว้นการ ประเมินผล ต้องมีเหตุผล เช่น หน่วยงานตั้งขึ้นในช่วงปี 2554 หรือ 2555 หน่วยงานเพิ่งแยกหรือจัดเก็บ ปริมาณการใช้ไฟฟ้า/น้ำมัน เชื้อเพลิงด้วยตนเองในช่วงปี 2554 หรือ 2555 เช่น แยก มิเตอร์ แยกสำนักงานจาก หน่วยงานอื่น เป็นต้น มีเหตุสุดวิสัยข้อมูลการใช้ ไฟฟ้า/น้ำมัน ปี 2554 เอกสาร ชำรุด สูญหาย เช่น ไฟไหม้ น้ำ ท่วม เป็นต้น  ปริมาณการใช้ไฟฟ้า/น้ำมัน ปี 2554 เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับปี 2551 จะขอปรับเกณฑ์ ระดับที่ 5 จาก “ ร้อยละ 15 ขึ้นไป” เป็น “ ร้อยละ 10 ขึ้นไป” ปริมาณการใช้ไฟฟ้า/น้ำมัน ปี 2555 เพิ่มขึ้นจากปี 2554 เกินร้อย ละ 15 ขึ้นไป จะขอยกเว้นไม่นำ ปริมาณการใช้ไฟฟ้า/น้ำมันที่ เพิ่มขึ้น อันเป็นผลจากปัจจัยที่ เกิดขึ้นใหม่ในปี 2555 มาคำนวณ ผลประหยัด 

วิธีขอเปลี่ยนแปลงฯ หน่วยงานจะต้องส่งคำขอเปลี่ยนแปลง รายละเอียดตัวชี้วัดฯ ไปพร้อมกับรายงานการ ประเมินผลตนเอง รอบ 12 เดือน ต้องชี้แจงเหตุผลความจำเป็นพร้อมรายละเอียด ที่ชัดเจน และเพียงพอต่อการพิจารณา การขอเปลี่ยนแปลงตามกรณีที่ 2 และ 3 ต้องระบุรายละเอียด และมีเอกสารประกอบ เป็นประมาณการเชิงตัวเลขของปริมาณการ ไฟฟ้า/น้ำมันที่เพิ่มขึ้น เช่น เปลี่ยนแปลงโครงสร้างหรือภารกิจของ หน่วยงาน มีภารกิจเพิ่มขึ้น, ติดตั้งอุปกรณ์สำหรับดำเนิน ภารกิจเพิ่มเติม สร้างอาคารใหม่ เป็นต้น

 ปิดรับการรายงาน 30 พฤศจิกายน 2555 เวลา 24:00 น  แต่ละหน่วยงานบันทึกข้อมูลของหน่วยงานเอง ระบบจะประมวลผลและสรุปรายงานให้อัตโนมัติ สนับสนุนโดย กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน

ขอบคุณครับ รักพ่อ . . . ใช้พลังงานอย่างพอเพียง