การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การกำหนดโครงสร้าง ตาม ว 108 (ว 1)
Advertisements

การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
การเตรียมความพร้อมของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในการปรับเปลี่ยนข้าราชการ
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ประสิทธิภาพ การปฏิบัติราชการ
พัฒนาข้าราชการบรรจุใหม่อย่างเป็นระบบ (The Civil Service Academy)
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
กฎ ก.พ. เรื่อง การจัดประเภทตำแหน่งและระดับตำแหน่ง (มาตรา 46)
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
กรอบแนวคิด การพัฒนากองบริการการศึกษา.
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
แนวปฏิบัติ การขอกำหนดตำแหน่งให้สูงขึ้น ของบุคลากรสายปฏิบัติการ
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน Performance Management System: PMS และ หลักการจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล Individual Development Plan : IDP.
หลักการบริหารภาครัฐยุคใหม่
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
การพิทักษ์คุณธรรม ในการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
หมวด 1 การนำองค์กร การให้การสนับสนุนชุมชน ดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
Good Corporate Governance
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
ยินดีต้อนรับผู้เข้าสัมมนาทุกท่าน
กำลังคน กระทรวงสาธารณสุข
การกำหนดความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
โดย ผู้อำนวยการสำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กรมควบคุมโรค 8 มีนาคม 2554.
มาตรฐานทางการเงิน 7 ด้าน
(ก.พ. ที่ นร /ว 8 ลงวันที่ 28 เมษายน 2554)
การแก้ปัญหากำลังคน การขาดแคลนตำแหน่งสำหรับบรรจุเป็นข้าราชการ เป็นปัญหาเรื้อรัง (ศึกษาร่วมกับ ก.พ. เพื่อหาแนวทางแก้ไข) ปี 2555 สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขขอตำแหน่งเพื่อสำหรับบรรจุนักเรียนทุน.
มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม ของ ผู้ตรวจราชการและหน่วยงานที่รับการตรวจราชการ สุรศักดิ์ แสงอร่าม รองเลขาธิการ ส.ป.ก. 21 ต.ค
การปรับปรุงอัตรากรมแพทย์ทหารเรือ
ปัญหา ช่องว่างค่าตอบแทน เมื่อเทียบกับสาธารณสุข กทม. เอกชน
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
K M กจ. ประจำเดือนมีนาคม 2551
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปี 2549.
ข อง โดย … นายแพทย์สุวัช เซียศิริวัฒนา ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและ ยุทธศาสตร์ 15 มีนาคม 2549.
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
ข้อกฎหมายที่น่ารู้สำหรับผู้บริหารส่วนภูมิภาค
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
แนวทางการบริหารพนักงานกระทรวงสาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ เพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการ.
การปฐมนิเทศข้าราชการกรมประชาสัมพันธ์
PMQA พัชรศรี ศรีเมือง กลุ่มพัฒนาระบบบริหารกระทรวงยุติธรรม 14 ก.ย. 53
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
มิติใหม่ของการบริหารจัดการภาครัฐ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ ก. พ
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
การบริหารทรัพยากรบุคคล
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
กำลังคน กระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการเขียน แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ ของสถานศึกษา
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
โดย นายคันฉัตร ตันเสถียร รองผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี
มีอำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวง
การบริหารกำลังคนภาครัฐ
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ทิศทางการพัฒนาระบบราชการไทย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่ โดย... นายแพทย์สุพรรณ ศรีธรรมมา นายแพทย์ 10 (ด้านพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข) ที่ปรึกษากระทรวงสาธารณสุข

หลักการปฏิรูประบบราชการ 1. ปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจ 2. ปรับปรุงอำนาจหน้าที่ 3. มีพันธกิจที่ชัดเจน

หลักการปฏิรูปฯ 4. แบ่งบทบาทของการเมืองและ ข้าราชการประจำให้ชัดเจน 5. องค์กรมีขนาดกะทัดรัด 6. มอบอำนาจมากขึ้น 7. การบริหารบุคคลได้มาตรฐาน

ยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบราชการไทย

เป้าประสงค์หลัก 1. พัฒนาคุณภาพการให้บริการ ประชาชนที่ดีขึ้น 2. ปรับบทบาท ภารกิจ ขนาดให้มี ความเหมาะสม

เป้าประสงค์หลัก 3. ยกระดับพัฒนาขีดความสามารถ และมาตรฐานการทำงาน 4. ตอบสนองต่อการบริหารปกครอง ในระบอบประชาธิปไตย

ยุทธศาสตร์การพัฒนา 1. ปรับเปลี่ยนวิธีการทำงาน / กระบวนงาน 2. ปรับปรุงโครงสร้างการบริหาร 3. ปรับระบบการเงินและงบประมาณ

ยุทธศาสตร์การพัฒนา 4. ปรับระบบบริหารงานบุคคล / ค่าตอบแทน 5. ปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมและค่านิยม 6. ระบบราชการที่ทันสมัย 7. ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม

เงื่อนไขความสำเร็จ 1. ภาวะผู้นำ 2. แก้ไขกฎหมาย 3. บูรณาการทุกภาคส่วน 4. สนับสนุนงบประมาณให้เพียงพอ

ระบบการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี (Good Covernance) เป้าหมาย 1. การบริหารมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ 2. การปรับเปลี่ยนบทบาทภาครัฐ 3. การบริหารแบบพหุพาคี

หลักพื้นฐาน (Good Covernance) 1. หลักนิติธรรม 2. หลักคุณธรรม 3. หลักความโปร่งใส่

หลักพื้นฐาน (Good Covernance) 4. หลักการมีส่วนร่วม 5. หลักความรับผิดชอบ 6. หลักความคุ้มค่า

การบริหารมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ (Result Based Management : RBM) ความประหยัด (Economy) ความมีประสิทธิภาพ (Efficiency) ความมีประสิทธิผล (Effectiveness)

พันธกิจ กลยุทธ์ แผนงาน ติดตามประเมินผล ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน (Performance Based Budgeting System : PBBS) พันธกิจ กลยุทธ์ แผนงาน ติดตามประเมินผล

มาตรฐานการจัดการทางการเงิน 7 ประการ 1. การวางแผนงบประมาณ 2. การคำนวณต้นทุนผลผลิต 3. การจัดระบบการจัดซื้อจัดจ้าง

มาตรฐานการจัดการทางการเงิน 7 ประการ 4. การบริหารทางการเงินและการควบคุม งบประมาณ 5. การบริหารสินทรัพย์ 6. การายงานทางการเงินและผลการดำเนินงาน 7. การตรวจสอบภายใน

ปัญหาระบบการจำแนกตำแหน่ง (ปัจจุบัน) 1. สายงาน 441 สายงาน 2. มีความต้องการขอกำหนดตำแหน่งสูงขึ้น เป็นจำนวนมาก 3. เน้นวุฒิการศึกษา และ อาวุโสมากกว่า ขีดความสามารถ

ปัญหาค่าตอบแทนข้าราชการพลเรือน (ปัจจุบัน) บัญชีเงินเดือนมีบัญชีเดียว ค่าตอบแทนต่ำกว่าเอกชน ค่าตอบแทนไม่สัมพันธ์กับผลการปฏิบัติงาน ไม่จูงใจให้คนดีคนเก่งอยู่ในระบบ

แนวคิดหลัก ในการปรับปรุงตำแหน่ง (ใหม่) 1. หลักคุณธรรม 2. หลักสมรรถนะ 3. หลักผลงาน 4. หลักการกระจายอำนาจ 5. หลักอัตราตลาด 6. หลักความสามารถในการจ่ายของภาครัฐ

ประเภทของข้าราชการพลเรือน (ใหม่) 1. ประเภทบริหาร 1.1 ระดับต้น 1.2 ระดับสูง

2. ประเภทอำนวยการ 2.1 ระดับต้น 2.2 ระดับสูง 2. ประเภทอำนวยการ 2.1 ระดับต้น 2.2 ระดับสูง

3. ประเภทวิชาการ 3.1 ระดับปฎิบัติการ 3.2 ระดับชำนาญการ 3. ประเภทวิชาการ 3.1 ระดับปฎิบัติการ 3.2 ระดับชำนาญการ 3.3 ระดับชำนาญการพิเศษ 3.4 ระดับเชี่ยวชาญ 3.5 ระดับทรงคุณวุฒิ

4. ประเภททั่วไป 4.1 ระดับปฎิบัติงาน 4.2 ระดับชำนาญงาน 4.3 ระดับอาวุโส 4. ประเภททั่วไป 4.1 ระดับปฎิบัติงาน 4.2 ระดับชำนาญงาน 4.3 ระดับอาวุโส 4.4 ระดับทักษะพิเศษ

ระบบค่าตอบแทน (ใหม่) 1. ค่าตอบแทนที่สะท้อนผลงานและสมรรถนะ 1. ค่าตอบแทนที่สะท้อนผลงานและสมรรถนะ (เงินเดือนพื้นฐาน) 2. ค่าตอบแทนตามลักษณะงานพิเศษ (เงินประจำตำแหน่ง เงินเพิ่มตามพื้นที่) 3. ค่าตอบแทนความมั่นคงในการทำงาน (สวัสดิการต่างๆ เช่น รักษาพยาบาล การศึกษาบุตร) 4. ค่าตอบแทนผลสัมฤทธิ์ประจำปี (เงินโบนัส)

สมรรถนะของข้าราชการพลเรือน (Competency) สมรรถนะหลัก (Core Competency) 1. การมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ 2. การบริการที่ดี 3. การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ 4. จริยธรรม 5. ความร่วมแรงร่วมใจ

ค่านิยมสร้างสรรค์ของข้าราชการ 1. การยืนหยัดทำในสิ่งที่ถูกต้อง 2. ความซื่อสัตย์และความรับผิดชอบ

3. ความโปร่งใส ตรวจสอบได้ 4. การไม่เลือกปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม 5. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน

(ร่าง) พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.... (ร่าง) พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.... ครม. เห็นชอบ 28 ธันวาคม 2548

สาระสำคัญ 1. กำหนดอำนาจหน้าที่ของ สาระสำคัญ 1. กำหนดอำนาจหน้าที่ของ คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบ ไม่ให้เกิดความซ้ำซ้อนกัน

2. จัดตั้งคณะกรรมการพิทักษ์คุณธรรม (ก.พ.ค.) เพื่อตรวจสอบการบริหารทรัพยากรบุคคล ให้เห็นไปตามระบบคุณธรรม

3. เพิ่มประเภทข้าราชการพลเรือนวิสามัญ 3. เพิ่มประเภทข้าราชการพลเรือนวิสามัญ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และความคล่องตัว ในการสรรหาผู้บริหารระดับสูง

4. ปรับปรุงตำแหน่ง และประเภทของ ข้าราชการพลเรือน 5 4. ปรับปรุงตำแหน่ง และประเภทของ ข้าราชการพลเรือน 5. กระบวนการสรรหาบุคคลในระบบเปิด

6. กระจายอำนาจการบริหารทรัพยากรบุคคล ให้ส่วนราชการเจ้าสังกัดมากยิ่งขึ้น 7. ปรับปรุงระบบวินัย อุทธรณ์ และร้องทุกข์

. . สวัสดี . .