การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่ โดย... นายแพทย์สุพรรณ ศรีธรรมมา นายแพทย์ 10 (ด้านพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข) ที่ปรึกษากระทรวงสาธารณสุข
หลักการปฏิรูประบบราชการ 1. ปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจ 2. ปรับปรุงอำนาจหน้าที่ 3. มีพันธกิจที่ชัดเจน
หลักการปฏิรูปฯ 4. แบ่งบทบาทของการเมืองและ ข้าราชการประจำให้ชัดเจน 5. องค์กรมีขนาดกะทัดรัด 6. มอบอำนาจมากขึ้น 7. การบริหารบุคคลได้มาตรฐาน
ยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบราชการไทย
เป้าประสงค์หลัก 1. พัฒนาคุณภาพการให้บริการ ประชาชนที่ดีขึ้น 2. ปรับบทบาท ภารกิจ ขนาดให้มี ความเหมาะสม
เป้าประสงค์หลัก 3. ยกระดับพัฒนาขีดความสามารถ และมาตรฐานการทำงาน 4. ตอบสนองต่อการบริหารปกครอง ในระบอบประชาธิปไตย
ยุทธศาสตร์การพัฒนา 1. ปรับเปลี่ยนวิธีการทำงาน / กระบวนงาน 2. ปรับปรุงโครงสร้างการบริหาร 3. ปรับระบบการเงินและงบประมาณ
ยุทธศาสตร์การพัฒนา 4. ปรับระบบบริหารงานบุคคล / ค่าตอบแทน 5. ปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมและค่านิยม 6. ระบบราชการที่ทันสมัย 7. ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม
เงื่อนไขความสำเร็จ 1. ภาวะผู้นำ 2. แก้ไขกฎหมาย 3. บูรณาการทุกภาคส่วน 4. สนับสนุนงบประมาณให้เพียงพอ
ระบบการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี (Good Covernance) เป้าหมาย 1. การบริหารมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ 2. การปรับเปลี่ยนบทบาทภาครัฐ 3. การบริหารแบบพหุพาคี
หลักพื้นฐาน (Good Covernance) 1. หลักนิติธรรม 2. หลักคุณธรรม 3. หลักความโปร่งใส่
หลักพื้นฐาน (Good Covernance) 4. หลักการมีส่วนร่วม 5. หลักความรับผิดชอบ 6. หลักความคุ้มค่า
การบริหารมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ (Result Based Management : RBM) ความประหยัด (Economy) ความมีประสิทธิภาพ (Efficiency) ความมีประสิทธิผล (Effectiveness)
พันธกิจ กลยุทธ์ แผนงาน ติดตามประเมินผล ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน (Performance Based Budgeting System : PBBS) พันธกิจ กลยุทธ์ แผนงาน ติดตามประเมินผล
มาตรฐานการจัดการทางการเงิน 7 ประการ 1. การวางแผนงบประมาณ 2. การคำนวณต้นทุนผลผลิต 3. การจัดระบบการจัดซื้อจัดจ้าง
มาตรฐานการจัดการทางการเงิน 7 ประการ 4. การบริหารทางการเงินและการควบคุม งบประมาณ 5. การบริหารสินทรัพย์ 6. การายงานทางการเงินและผลการดำเนินงาน 7. การตรวจสอบภายใน
ปัญหาระบบการจำแนกตำแหน่ง (ปัจจุบัน) 1. สายงาน 441 สายงาน 2. มีความต้องการขอกำหนดตำแหน่งสูงขึ้น เป็นจำนวนมาก 3. เน้นวุฒิการศึกษา และ อาวุโสมากกว่า ขีดความสามารถ
ปัญหาค่าตอบแทนข้าราชการพลเรือน (ปัจจุบัน) บัญชีเงินเดือนมีบัญชีเดียว ค่าตอบแทนต่ำกว่าเอกชน ค่าตอบแทนไม่สัมพันธ์กับผลการปฏิบัติงาน ไม่จูงใจให้คนดีคนเก่งอยู่ในระบบ
แนวคิดหลัก ในการปรับปรุงตำแหน่ง (ใหม่) 1. หลักคุณธรรม 2. หลักสมรรถนะ 3. หลักผลงาน 4. หลักการกระจายอำนาจ 5. หลักอัตราตลาด 6. หลักความสามารถในการจ่ายของภาครัฐ
ประเภทของข้าราชการพลเรือน (ใหม่) 1. ประเภทบริหาร 1.1 ระดับต้น 1.2 ระดับสูง
2. ประเภทอำนวยการ 2.1 ระดับต้น 2.2 ระดับสูง 2. ประเภทอำนวยการ 2.1 ระดับต้น 2.2 ระดับสูง
3. ประเภทวิชาการ 3.1 ระดับปฎิบัติการ 3.2 ระดับชำนาญการ 3. ประเภทวิชาการ 3.1 ระดับปฎิบัติการ 3.2 ระดับชำนาญการ 3.3 ระดับชำนาญการพิเศษ 3.4 ระดับเชี่ยวชาญ 3.5 ระดับทรงคุณวุฒิ
4. ประเภททั่วไป 4.1 ระดับปฎิบัติงาน 4.2 ระดับชำนาญงาน 4.3 ระดับอาวุโส 4. ประเภททั่วไป 4.1 ระดับปฎิบัติงาน 4.2 ระดับชำนาญงาน 4.3 ระดับอาวุโส 4.4 ระดับทักษะพิเศษ
ระบบค่าตอบแทน (ใหม่) 1. ค่าตอบแทนที่สะท้อนผลงานและสมรรถนะ 1. ค่าตอบแทนที่สะท้อนผลงานและสมรรถนะ (เงินเดือนพื้นฐาน) 2. ค่าตอบแทนตามลักษณะงานพิเศษ (เงินประจำตำแหน่ง เงินเพิ่มตามพื้นที่) 3. ค่าตอบแทนความมั่นคงในการทำงาน (สวัสดิการต่างๆ เช่น รักษาพยาบาล การศึกษาบุตร) 4. ค่าตอบแทนผลสัมฤทธิ์ประจำปี (เงินโบนัส)
สมรรถนะของข้าราชการพลเรือน (Competency) สมรรถนะหลัก (Core Competency) 1. การมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ 2. การบริการที่ดี 3. การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ 4. จริยธรรม 5. ความร่วมแรงร่วมใจ
ค่านิยมสร้างสรรค์ของข้าราชการ 1. การยืนหยัดทำในสิ่งที่ถูกต้อง 2. ความซื่อสัตย์และความรับผิดชอบ
3. ความโปร่งใส ตรวจสอบได้ 4. การไม่เลือกปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม 5. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน
(ร่าง) พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.... (ร่าง) พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.... ครม. เห็นชอบ 28 ธันวาคม 2548
สาระสำคัญ 1. กำหนดอำนาจหน้าที่ของ สาระสำคัญ 1. กำหนดอำนาจหน้าที่ของ คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบ ไม่ให้เกิดความซ้ำซ้อนกัน
2. จัดตั้งคณะกรรมการพิทักษ์คุณธรรม (ก.พ.ค.) เพื่อตรวจสอบการบริหารทรัพยากรบุคคล ให้เห็นไปตามระบบคุณธรรม
3. เพิ่มประเภทข้าราชการพลเรือนวิสามัญ 3. เพิ่มประเภทข้าราชการพลเรือนวิสามัญ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และความคล่องตัว ในการสรรหาผู้บริหารระดับสูง
4. ปรับปรุงตำแหน่ง และประเภทของ ข้าราชการพลเรือน 5 4. ปรับปรุงตำแหน่ง และประเภทของ ข้าราชการพลเรือน 5. กระบวนการสรรหาบุคคลในระบบเปิด
6. กระจายอำนาจการบริหารทรัพยากรบุคคล ให้ส่วนราชการเจ้าสังกัดมากยิ่งขึ้น 7. ปรับปรุงระบบวินัย อุทธรณ์ และร้องทุกข์
. . สวัสดี . .