การวิเคราะห์เนื้อหา.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
Advertisements

การเขียนบทความ.
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
การเขียนผลงานวิชาการ
ปฐมนิเทศ การเขียนโปรแกรม ง30202.
บทที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงคุณภาพ
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับนวัตกรรมการศึกษา
ขั้นตอนการออกแบบมัลติมีเดีย Multimedia Design Step
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
สรุปภาพรวมการเรียนรู้
หลักการออกแบบของ ADDIE model ADDIE model
การสร้างสื่อมัลติมีเดีย
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์
โครงงานวิชาคณิตศาสตร์
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
การจำลองความคิด
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
หน่วยที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
ชุดวิชา QM604 วิธีการวิจัยและพัฒนาคุณภาพ RESEARCH AND DEVELOPMENT IN QUALITY ผศ.ดร.กฤษดา กรุดทอง.
บทที่ 8 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
การประเมินผลการเรียน
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
บทที่ 3 การวิเคราะห์โครงสร้าง Structure Analysis
หน่วย การเรียนรู้.
การวิจัยดำเนินงาน Operations research
การเขียนรายงานการวิจัย
การสอนแบบบรรยาย-อภิปราย
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
ระบบเอกสารคุณภาพ เนาวรัตน์ เสียงเสนาะ สอิด
ที่ใช้ใน Object-Oriented Design
บทนำเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
การเขียนแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
ผลแห่งความสำเร็จ 3 ห หลักเกณฑ์ หลักการ หลักฐาน.
การสอนกลุ่มใหญ่(Large Group Teaching)
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
ทบทวนความรู้เดิม (Activate Prior Knowledge)
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
WBI คืออะไร   WBI หรือ Web Base Instruction เป็นการจัดกิจกรรมการสอนใน รูปแบบของ Web Knowledge Based โดยใช้เทคโนโลยีทางของ Webpage เป็นศูนย์กลางในการนำเสนอเนื้อหา.
 วัตถุประสงค์ของบทเรียน นับว่าเป็นส่วนสำคัญยิ่ง ต่อกระบวนการเรียนรู้ ที่ผู้เรียนจะได้ทราบถึงความ คาดหวังของบทเรียนจากผู้เรียน นอกจากผู้เรียนจะ ทราบถึงพฤติกรรมขั้นสุดท้ายของตนเองหลังจบ.
การเรียนทางคลินิก โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
CPE Project 1 บทที่ 2. ภาพรวม บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ ทฤษฎี (theory) = สมมติฐานที่ได้รับการตรวจสอบ และทดลองหลายครั้งหลายหนจนสามารถอธิบาย ข้อเท็จจริงสามารถคาดคะเนทำนายสิ่งที่เกี่ยวข้อง.
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
หลักการออกแบบของ ADDIE model มีขั้นตอนดังนี้. 1
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
บทที่ 4 ข้อเสนอโครงการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์เนื้อหา

เนื้อหา ความหมายการวิเคราะห์เนื้อหา ขั้นตอนการวิเคราะห์เนื้อหา โครงสร้างเนื้อหา

ความหมายการวิเคราะห์เนื้อหา เบอเรลสัน ได้ให้ความหมายของการวิเคราะห์เนื้อหาว่า การวิเคราะห์เนื้อหาเป็นเทคนิคการวิจัยอย่างหนึ่ง เพื่ออธิบายเนื้อหาสาระ ของการสื่อสารอย่างมีหลักเกณฑ์มีระบบและสามารถอธิบายในเชิง ปริมาณได้ด้วย หรืออาจกล่าวไดว่า เป็นการศึกษาถึงเนื้อหาสาระสำคัญ เพื่อให้ได้มาซึ่งเนื้อหา (content) ของสื่อการสอน

ขั้นตอนการวิเคราะห์เนื้อหา การสร้างแผนภูมิระดมสมอง (Brain Storm Chart Creation) สร้างแผนภูมิหัวเรื่องสัมพันธ์ (Concept Chart) สร้างแผนภูมิโครงข่ายเนื้อหา (Content Network Chart)

การสร้างแผนภูมิระดมสมอง (Brain Storm Chart Creation) จะเป็นการหาหัวข้อหลักที่สัมพันธ์กับเนื้อหาที่จะทำการสอน โดยมีวิธีการทำคือ ให้เขียนชื่อวิชาไว้ตรงกลาง แล้วจึงหาหัวข้อหลักหรือหัวเรื่องที่ควรจะสอนในวิชานั้น หากเป็นหัวข้อรองจะทำการโยงกับหัวข้อหลัก Topic 1 Topic 2 วิชา Topic 3

สร้างแผนภูมิหัวเรื่องสัมพันธ์ จากแผนภูมิระดมสมอง จะนำมาทำการวิเคราะห์ความถูกต้องของทฤษฎีหลักการและเหตุผลความสัมพันธ์ต่อเนื่องกัน อย่างละเอียด อาจมีการตัด-เพิ่มหัวเรื่องตามเหตุ-ผล และความเหมาะสม จนสามารถอธิบายและตอบคำถามได้ ผลที่ได้เป็นแผนภูมิที่เรียกว่า แผนภูมิหัวเรื่องสัมพันธ์ (Concept Chart) โดยมีขั้นตอนการเขียนดังนี้ นำแผนภูมิระดมสมองมาพิจาณาโดยละเอียดเพื่อจัดกลุ่มของหัวเรื่องที่สัมพันธ์เข้าไว้ด้วยกัน ซึ่งตัดหรือเพิ่มหัวเรื่อง หรือย้ายกลุ่มหัวเรื่องเนื้อหาก็ได้ เพื่อให้ หัวเรื่องต่าง ๆ สอดคล้องสัมพันธ์กันอย่างถูกต้อง

แผนภูมิโครงข่ายเนื้อหา เป็นนำหัวเรื่องต่าง ๆ จาก แผนภูมิหัวเรื่องสัมพันธ์ เป็นโครงข่ายตามหลักการเทคนิคโครงข่าย โดยคำนึงถึงลำดับการเรียนเนื้อหาก่อน-หลัง ความต่อเนื่องของเนื้อหาหรือเนื้อหานั้นสามารถเรียนแบบขนานกันได้ไม่เกี่ยวข้องกัน แล้วทำการวิเคราะห์เหตุผลความสัมพันธ์ของเนื้อหาโดย วิธีการวิเคราะห์ข่ายงาน(Network Analysis) ซึ่งผลของการสร้างโครงข่ายเนื้อหานี้ จะมีผลต่อการออกแบบระบบเมนูและการ ควบคุมบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในขณะที่ใช้บทเรียนด้วย

โครงสร้างเนื้อหา โครงสร้างตามแนวตั้ง โครงสร้างตามแนวนอน โครงสร้างแบบผสม

โครงสร้างตามแนวตั้ง โครงสร้างเนื้อหาแบบนี้มีการเรียงลำดับเนื้อหาย่อยตามลำดับชั้น เนื้อหาที่มีโครงสร้างตามแนวตั้ง มักเป็นเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับข้อเท็จจริง หลักการ และกระบวนการที่ต้องแสดงให้เห็นขั้นตอนตามลำดับขั้น โดยอาจจะแสดงจากสิ่งเล็กไปหาสิ่งใหญ่ หรือจากสิ่งใหญ่ไปหาสิ่งที่เล็ก

เนื้อหาที่มีโครงสร้างตามแนวนอน โครงสร้างเนื้อหาแบบนี้ไม่มีการเรียงลำดับเนื้อหาย่อย แต่ละเนื้อหามีความหมายและความสำคัญในตัวเอง

เนื้อหาที่มีโครงสร้างแบบผสม เป็นโครงสร้างทั้งตามแนวตั้งและโครงสร้างตามแนวนอน โครงสร้างเนื้อหาแบบนี้จึงเป็นแบบผสมผสาน การนำเสนอเนื้อหาแบบนี้จึงนำเสนอทั้งเป็นลำดับขั้นและไม่เป็นลำดับขั้น