แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
Advertisements

การดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์
วิสัยทัศน์ องค์กรหลักของประเทศในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี 1.
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
คำอธิบาย วัตถุประสงค์ เพื่อผลักดันให้เกิดความสำเร็จของตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายดังนี้ ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข ตัวชี้วัดโครงการพระราชดำริและเฉลิมพระเกียรติ
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
นโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย
การดำเนินงานเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและเยาวชน
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
การป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
การพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
ผลงาน กองทันตสาธารณสุข (ตุลาคม2548 – กรกฎาคม2549)
แนวทางการดำเนินงานของกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ 2551
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
โดย นายแพทย์ดนัย ธีวันดา ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ปีงบประมาณ 2553
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
นโยบายและทิศทาง การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ เด็กวัยเรียนและเยาวชน
ไอโอดีนมีอยู่ทุกที่ ดูให้ดี กินให้เป็น
นโยบายและยุทธศาสตร์ การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน
ส่งเสริมสัญจร.
โครงการสำคัญตามนโยบาย
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
ลดปัจจัยเสี่ยงในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ทันตสาธารณสุข นำเสนอความสำเร็จตัวชี้วัด Functionปี 54
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
กรอบประเด็น คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ผลการดำเนินงาน 6 เดือน ประเด็น พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554 สุภาพร ปานชุ่มจิตร์ หัวหน้ากลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 1 กรุงเทพฯ

เป็นกระบวนการที่ช่วยให้ ประชาชนเพิ่มความสามารถในการ การส่งเสริมสุขภาพ เป็นกระบวนการที่ช่วยให้ ประชาชนเพิ่มความสามารถในการ ควบคุม และสร้างเสริมสุขภาพ ของตนเองให้ดีขึ้น เพื่อให้มีสุขภาพดี ทั้งร่างกาย จิตใจ และสังคม

การส่งเสริมสุขภาพที่พึงประสงค์ เน้นการป้องกันมากกว่าการรักษาพยาบาล เน้นการดูแลตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม สิ่งแวดล้อม เน้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อการมีสุขภาพดี สร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำรงชีวิตที่ดีและเป็นสุข สร้างสังคมมีสุข เน้นการมีส่วนร่วมกับชุมชน ท้องถิ่น ภาครัฐ เอกชน ประชาชนสามารถมีสิทธิรับรู้ข้อมูล เพื่อประกอบการตัดสินใจที่จะรับหรือไม่รับบริการ ประชาชนมีสิทธิขอให้มีการประเมินและร่วมประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ

แผนบริหารราชการแผ่นดินกรมอนามัย กำหนดการดำเนินงานเป็น 7 ประเด็นยุทธศาสตร์ ด้านส่งเสริมสุขภาพ ด้านสิ่งแวดล้อม 1. พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก 2. ลดปัจจัยเสี่ยงเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น 3. แก้ไขปัญหาโรคอ้วนคนไทย 4. ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ 5. พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม 6. ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ 7. ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ งานตามพันธกิจ

ประชาสัมพันธ์ให้เป็นที่รู้จักและยอมรับ หลักการทำงาน ทำงานเป็นระบบ ประชาสัมพันธ์ให้เป็นที่รู้จักและยอมรับ ผลักดันโครงการสู่ระดับประเทศอย่างยั่งยืน

โครงการเฉลิมพระเกียรติ โครงการตามนโยบาย โครงการสำคัญ ปี 2554 โครงการพระราชดำริ โครงการเฉลิมพระเกียรติ โครงการตามนโยบาย

1. โครงการพระราชดำริ โครงการโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว มาตรการ เป้าหมาย พัฒนาทีมประเมินระดับเขต, จังหวัด ประกาศเกียรติคุณ MCH Board เสริมสร้างความเข้มแข็ง อปท. ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก พัฒนาระบบเฝ้าระวังการเจริญเติบโต โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ระดับทอง 100 แห่ง

โครงการควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน มาตรการ เป้าหมาย เกลือเสริมไอโอดีนถ้วนหน้า เฝ้าระวัง กำกับ ติดตาม สร้างกระแสสังคม วิจัย พัฒนา 1. ไม่เกินร้อยละ 50 ของหญิงตั้งครรภ์มีปริมาณไอโอดีนในปัสสาวะน้อยกว่า 150 ไมโครกรัม/ลิตร 2. มากกว่าร้อยละ 90 ของครัวเรือนใช้เกลือเสริมไอโอดีน 3. ควบคุมและป้องกันการขาดสารไอโอดีนในทารก

โครงการส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพอนามัย เด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร มาตรการ เป้าหมาย พัฒนาศักยภาพเด็กนักเรียน แกนนำ/ครู/แกนนำชุมชน ประสานความร่วมมือภาคีเครือข่าย อปท. สนับสนุนจัดอาหารเสริมธาตุเหล็ก/ไอโอดีน 1. บุคลากรและประชาชนในพื้นที่เป้าหมาย ได้รับการพัฒนาด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม 2,800 ราย 2. เด็กและเยาวชนในพื้นที่เป้าหมายเฉพาะ เจริญเติบโตสมวัย ร้อยละ 60

โครงการเฉลิมพระเกียรติ โครงการฟันเทียมพระราชทาน 2. โครงการเฉลิมพระเกียรติ โครงการฟันเทียมพระราชทาน มาตรการ เป้าหมาย ระบบการพัฒนาบริการใน รพศ./รพช./รพท. ติดตาม กำกับ พัฒนาบริหารจัดการโครงการติดตามระยะยาว สร้างกระแสร่วมกับหน่วยงานทันตกรรมพระราชทานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 30,000 ราย

โครงการนมฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุ มาตรการ เป้าหมาย สนับสนุนนมฟลูออไรด์ในพื้นที่ความชุกสูง 30,000 ราย เด็กนักเรียนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 50 เขต 431 โรงเรียน

โครงการสำคัญตามนโยบาย 3. โครงการสำคัญตามนโยบาย ทำต่อเนื่อง เพิ่มความเข้มข้น โครงการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กในชุมชน ด้านสุขภาพอนามัย และพัฒนาการเด็ก โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โครงการคนไทยไร้พุง โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ (Long Term Care)

ทำต่อเนื่อง เพิ่มความเข้มข้น โครงการสาธารณสุขรวมใจรณรงค์ลดโลกร้อน โครงการส้วมสาธารณะ โครงการพัฒนาระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ โครงการพัฒนาระบบการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ

โครงการสำคัญตามนโยบาย โครงการวัยรุ่นสดใส ไม่ท้องก่อนวัย ทักษะชีวิตดี มีอนาคต มาตรการ เป้าหมาย 1. จังหวัดมีแผนยุทธศาสตร์บูรณาการ 36 จังหวัด 2. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสนับสนุนการจัดบริการที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่น และเยาวชน 3. สถานบริการภาครัฐ / รพ. มีการจัดบริการที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน 350 แห่ง