ปี 2549 จากประชากรทั้งสิ้น ล้านคน เป็นผู้มีงานทำ ล้านคน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เป้าหมาย เพื่อประสบผลสำเร็จในการลดผู้ติดเชื้อเอ็ชไอวีรายใหม่โดยการบูรณา การยุทธศาสตร์และการปฏิบัติการระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด และส่วนกลางที่ครอบคลุมเยาวชนอายุ
Advertisements

โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548
การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
แรงงานนอกระบบคือใคร ใครคือแรงงานอกระบบ
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
การดำเนินงานกรมสุขภาพจิต
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
บทที่ 8 การประเมินภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของชุมชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
คำรับรองการปฏิบัติ ราชการ กรมอนามัย ปี 2549 จำนวน 20 ตัวชี้วัด.
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
นโยบายด้านบริหาร.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ความท้าทาย....ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
องค์กรไร้พุง โรงพยาบาลภูเวียง.
นโยบายยางน้อยสุขภาพดี ไม่มีพุง
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตามกลุ่มวัย เด็กวัยเรียน 5-14 ปี
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
แนวคิดและหลักการส่งเสริมการตรวจสุขภาพ รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ปี 2549 จากประชากรทั้งสิ้น 65.34 ล้านคน เป็นผู้มีงานทำ 36.35 ล้านคน สถานการณ์การมีงานทำและการว่างงาน ปี 2549 จากประชากรทั้งสิ้น 65.34 ล้านคน เป็นผู้มีงานทำ 36.35 ล้านคน ผู้ว่างงาน 4.2แสนคน

สภาพการทำงาน

จำนวนประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยจากการทำงาน ในข่ายกองทุน จำนวนประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยจากการทำงาน ในข่ายกองทุน การประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยจากการทำงาน จำนวน(คน) - หยุดงานไม่เกิน 3 วัน 83,778 - หยุดงานเกิน 3 วัน 29,535 - สูญเสียอวัยวะบางส่วน 1,178 - ทุพพลภาพ 6 - ตาย 444 รวม 114,944 ข้อมูลสำนักงานประกันสังคม ข้อมูลสถานประกอบการ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม- 30 กันยายน 2549

ความร้ายแรงของอวัยวะที่ได้รับอันตราย อันดับที่ 1 อวัยวะที่ได้รับอันตราย จำนวน 1 นิ้วมือ 57,699 2 ตา 38,093 3 มือ 13,684 4 เท้าละส้นเท้า 11,378 5 บาดเจ็บหลายส่วน 11,029

ดังนั้น ปัญหาในกลุ่มแรงงาน แรงงานส่วนใหญ่เป็นผู้มีรายได้น้อย ต้องทำงานหนักเป็นระยะเวลาติดต่อกันวันละ 8 ชั่วโมง เป็นอย่างน้อย ต้องทำงานภายใต้เครื่องมือ เครื่องจักร และสิ่งแวดล้อมที่อาจก่อให้เกิดความเครียดและอันตราย คนงานส่วนใหญ่มีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ขาดการดูแลสุขภาพอนามัย ดังนั้น หากมีการจัดสิ่งแวดล้อมที่ดี และมีการส่งเสริมให้ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ย่อมส่งผลต่อสุขภาพที่ดีของประชาชน

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขภาพ

ดังนั้น การส่งเสริมสุขภาพในสถานประกอบกิจการ ผู้ใช้แรงงานใช้เวลาขณะตื่นนอนอยู่ในสถานประกอบกิจการ มากที่สุด ดังนั้น สุขภาพดี จึงสามารถเริ่มได้ที่ "สถานที่ทำงาน"

สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่าทำงาน หมายถึง สถานที่ทำงานที่มี การจัดสิ่งแวดล้อม ในการทำงานให้เอื้อต่อการมีสุขภาพที่ดี และการจัดกิจกรรม ส่งเสริมสุขภาพ ในที่ทำงานให้แก่ผู้ประกอบกิจการ ผู้ปฏิบัติงานให้มีความสุขในการทำงาน รวมทั้งผู้มารับบริการให้เกิดความสุขกายสบายใจเมื่อมารับบริการด้วย สะอาด ปลอดภัย สิ่งแวดล้อมดี มีชีวิตชีวา

วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้สถานที่ทำงานเป็นสถานที่ทำงานน่าอยู่ น่าทำงาน ตามเกณฑ์การประเมิน เพื่อส่งเสริมให้มีการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี รวมทั้ง ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของคนทำงานและชุมชนโดยรอบ

และสร้างกลุ่มที่เข้มแข็ง บทบาทหลัก 3 ฝ่าย การรณรงค์สร้างเสริมสุขภาพในสถานประกอบกิจการ ผู้มีบทบาทหลัก 3 ฝ่ายคือ ผู้บริหาร สร้างนโยบายสุขภาพ บุคคลกรสาธารณสุข ให้คำปรึกษา พนักงานดูแลตนเอง และสร้างกลุ่มที่เข้มแข็ง

เครือข่าย 1. ชุมชน (สถานประกอบกิจการ, ประชาชน) 1. ชุมชน (สถานประกอบกิจการ, ประชาชน) 2. หน่วยงานราชการส่วนท้องถิ่น (เทศบาล , อบต. , ที่ว่าการอำเภอ , สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ.) 3. ภาคีเครือข่าย (กระทรวงแรงงาน ฯลฯ)

กลวิธีเริ่มต้นใช้หลัก (5P) 1. วิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย (Population) - ใคร ? กลุ่มผู้ประกอบกิจการ ผู้บริหารระดับสูง - ความเป็นไปในการมีส่วนร่วม 2. เลือกตัวสินค้า (Product) - แนวคิด (ด้านส่งเสริมสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม 3. คุณค่า (Price) ของการดำเนินการ - ผลดีอย่างไรต่อองค์กร - ผลดีต่อบุคคล (กลุ่มลูกจ้าง)

กลวิธีเริ่มต้นใช้หลัก (5P) 4. เลือกสถานที่ (Place) หรือโอกาส (Occasion) - เหมาะสม / เกิดความเข้าใจเห็นพ้องต้องกัน 5. การส่งเสริม (Promotion) - การขยายผล / ปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง 5.1 การชี้ชวน (Advocacy) - กลุ่มไม่สนเข้าร่วมโครงการ  เห็นความสำคัญ 5.2 สร้างปัจจัยเอื้อ (Enabling) - ส่งเสริมบุคคลในการมีส่วนร่วม เช่น กฎ ระเบียบ ข้อปฏิบัติ สถานที่ออกกำลังกาย 5.3 การรณรงค์ (Campaign) - สร้างความตระหนักรู้คุณค่า - ขยายวงการรับรู้คุณค่าสู่ชุมชน

สถานประกอบกิจการที่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 30 ของอำเภอผ่านเกณฑ์มาตรฐาน พื้นที่ดำเนินการ สถานประกอบกิจการที่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 30 ของอำเภอผ่านเกณฑ์มาตรฐาน

เกณฑ์สำหรับสถานที่ทำงานที่มีผู้ปฏิบัติงานไม่น้อยกว่า 10 คน เกณฑ์สำหรับสถานที่ทำงานที่มีผู้ปฏิบัติงานน้อยกว่า 10 คน ระดับพื้นฐาน ปฏิบัติตามข้อ 1 ดาว ทุกข้อรวม 20 ข้อ ระดับดี ปฏิบัติตามข้อ 1 ดาวและ 2 ดาว ทุกข้อรวม 41 ข้อ ระดับดีมาก ปฏิบัติตามข้อ 1 ดาวและ 2 ดาวและ 3 ดาว ทุกข้อรวม 51 ข้อ เกณฑ์สำหรับสถานที่ทำงานที่มีผู้ปฏิบัติงานไม่น้อยกว่า 10 คน ระดับพื้นฐาน ผ่านเกณฑ์สะอาด ปลอดภัย และเกณฑ์มีชีวิตชีวาระดับพื้นฐาน 5 ข้อ ระดับดี ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐานเกณฑ์สิ่งแวดล้อม และเกณฑ์มีชีวิตชีวา ระดับดี 2 ข้อ ระดับดีมาก ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐานระดับดี และผ่านเกณฑ์มีชีวิตชีวา ระดับดีมาก 5 ข้อใน 8 ข้อ

สวัสดี รตอ.หญิง ไปรมา นากนิยม ศูนย์อนามัยที่ 1