ปี 2549 จากประชากรทั้งสิ้น 65.34 ล้านคน เป็นผู้มีงานทำ 36.35 ล้านคน สถานการณ์การมีงานทำและการว่างงาน ปี 2549 จากประชากรทั้งสิ้น 65.34 ล้านคน เป็นผู้มีงานทำ 36.35 ล้านคน ผู้ว่างงาน 4.2แสนคน
สภาพการทำงาน
จำนวนประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยจากการทำงาน ในข่ายกองทุน จำนวนประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยจากการทำงาน ในข่ายกองทุน การประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยจากการทำงาน จำนวน(คน) - หยุดงานไม่เกิน 3 วัน 83,778 - หยุดงานเกิน 3 วัน 29,535 - สูญเสียอวัยวะบางส่วน 1,178 - ทุพพลภาพ 6 - ตาย 444 รวม 114,944 ข้อมูลสำนักงานประกันสังคม ข้อมูลสถานประกอบการ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม- 30 กันยายน 2549
ความร้ายแรงของอวัยวะที่ได้รับอันตราย อันดับที่ 1 อวัยวะที่ได้รับอันตราย จำนวน 1 นิ้วมือ 57,699 2 ตา 38,093 3 มือ 13,684 4 เท้าละส้นเท้า 11,378 5 บาดเจ็บหลายส่วน 11,029
ดังนั้น ปัญหาในกลุ่มแรงงาน แรงงานส่วนใหญ่เป็นผู้มีรายได้น้อย ต้องทำงานหนักเป็นระยะเวลาติดต่อกันวันละ 8 ชั่วโมง เป็นอย่างน้อย ต้องทำงานภายใต้เครื่องมือ เครื่องจักร และสิ่งแวดล้อมที่อาจก่อให้เกิดความเครียดและอันตราย คนงานส่วนใหญ่มีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ขาดการดูแลสุขภาพอนามัย ดังนั้น หากมีการจัดสิ่งแวดล้อมที่ดี และมีการส่งเสริมให้ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ย่อมส่งผลต่อสุขภาพที่ดีของประชาชน
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขภาพ
ดังนั้น การส่งเสริมสุขภาพในสถานประกอบกิจการ ผู้ใช้แรงงานใช้เวลาขณะตื่นนอนอยู่ในสถานประกอบกิจการ มากที่สุด ดังนั้น สุขภาพดี จึงสามารถเริ่มได้ที่ "สถานที่ทำงาน"
สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่าทำงาน หมายถึง สถานที่ทำงานที่มี การจัดสิ่งแวดล้อม ในการทำงานให้เอื้อต่อการมีสุขภาพที่ดี และการจัดกิจกรรม ส่งเสริมสุขภาพ ในที่ทำงานให้แก่ผู้ประกอบกิจการ ผู้ปฏิบัติงานให้มีความสุขในการทำงาน รวมทั้งผู้มารับบริการให้เกิดความสุขกายสบายใจเมื่อมารับบริการด้วย สะอาด ปลอดภัย สิ่งแวดล้อมดี มีชีวิตชีวา
วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้สถานที่ทำงานเป็นสถานที่ทำงานน่าอยู่ น่าทำงาน ตามเกณฑ์การประเมิน เพื่อส่งเสริมให้มีการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี รวมทั้ง ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของคนทำงานและชุมชนโดยรอบ
และสร้างกลุ่มที่เข้มแข็ง บทบาทหลัก 3 ฝ่าย การรณรงค์สร้างเสริมสุขภาพในสถานประกอบกิจการ ผู้มีบทบาทหลัก 3 ฝ่ายคือ ผู้บริหาร สร้างนโยบายสุขภาพ บุคคลกรสาธารณสุข ให้คำปรึกษา พนักงานดูแลตนเอง และสร้างกลุ่มที่เข้มแข็ง
เครือข่าย 1. ชุมชน (สถานประกอบกิจการ, ประชาชน) 1. ชุมชน (สถานประกอบกิจการ, ประชาชน) 2. หน่วยงานราชการส่วนท้องถิ่น (เทศบาล , อบต. , ที่ว่าการอำเภอ , สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ.) 3. ภาคีเครือข่าย (กระทรวงแรงงาน ฯลฯ)
กลวิธีเริ่มต้นใช้หลัก (5P) 1. วิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย (Population) - ใคร ? กลุ่มผู้ประกอบกิจการ ผู้บริหารระดับสูง - ความเป็นไปในการมีส่วนร่วม 2. เลือกตัวสินค้า (Product) - แนวคิด (ด้านส่งเสริมสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม 3. คุณค่า (Price) ของการดำเนินการ - ผลดีอย่างไรต่อองค์กร - ผลดีต่อบุคคล (กลุ่มลูกจ้าง)
กลวิธีเริ่มต้นใช้หลัก (5P) 4. เลือกสถานที่ (Place) หรือโอกาส (Occasion) - เหมาะสม / เกิดความเข้าใจเห็นพ้องต้องกัน 5. การส่งเสริม (Promotion) - การขยายผล / ปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง 5.1 การชี้ชวน (Advocacy) - กลุ่มไม่สนเข้าร่วมโครงการ เห็นความสำคัญ 5.2 สร้างปัจจัยเอื้อ (Enabling) - ส่งเสริมบุคคลในการมีส่วนร่วม เช่น กฎ ระเบียบ ข้อปฏิบัติ สถานที่ออกกำลังกาย 5.3 การรณรงค์ (Campaign) - สร้างความตระหนักรู้คุณค่า - ขยายวงการรับรู้คุณค่าสู่ชุมชน
สถานประกอบกิจการที่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 30 ของอำเภอผ่านเกณฑ์มาตรฐาน พื้นที่ดำเนินการ สถานประกอบกิจการที่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 30 ของอำเภอผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
เกณฑ์สำหรับสถานที่ทำงานที่มีผู้ปฏิบัติงานไม่น้อยกว่า 10 คน เกณฑ์สำหรับสถานที่ทำงานที่มีผู้ปฏิบัติงานน้อยกว่า 10 คน ระดับพื้นฐาน ปฏิบัติตามข้อ 1 ดาว ทุกข้อรวม 20 ข้อ ระดับดี ปฏิบัติตามข้อ 1 ดาวและ 2 ดาว ทุกข้อรวม 41 ข้อ ระดับดีมาก ปฏิบัติตามข้อ 1 ดาวและ 2 ดาวและ 3 ดาว ทุกข้อรวม 51 ข้อ เกณฑ์สำหรับสถานที่ทำงานที่มีผู้ปฏิบัติงานไม่น้อยกว่า 10 คน ระดับพื้นฐาน ผ่านเกณฑ์สะอาด ปลอดภัย และเกณฑ์มีชีวิตชีวาระดับพื้นฐาน 5 ข้อ ระดับดี ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐานเกณฑ์สิ่งแวดล้อม และเกณฑ์มีชีวิตชีวา ระดับดี 2 ข้อ ระดับดีมาก ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐานระดับดี และผ่านเกณฑ์มีชีวิตชีวา ระดับดีมาก 5 ข้อใน 8 ข้อ
สวัสดี รตอ.หญิง ไปรมา นากนิยม ศูนย์อนามัยที่ 1