การศึกษาการใช้เข็มขัดนิรภัย และผลกระทบจากการใช้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2548
Advertisements

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทาน
คำสั่ง : ให้นิสิตทุกคนส่ง การบ้านอาทิตย์หน้า ทั้ง Report II – III อย่างละ 1 หน้า.
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
สำรวจค่าใช้จ่ายชีวิตประจำวัน
การปฏิรูประบบบำเหน็จบำนาญ เกี่ยวข้องกับ กบข. อย่างไร
การปฏิรูประบบบำเหน็จบำนาญ เกี่ยวข้องกับ กบข. อย่างไร
การเสวนาเรื่อง “สุขภาวะสู่อุมมะฮ์ (ประชาชาติ) ที่เข้มแข็ง”
สถานการณ์ความยากจน ของประเทศไทย
แนวโน้มผู้ป่วยอุบัติเหตุจราจร ปี
รายงานบาดเจ็บอุบัติเหตุจราจร ปี 2551
รายงานการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุขนส่ง โรงพยาบาลหาดใหญ่ ปี 2551
แนวคิดใหม่ ๆ ในการทำให้ รถจักรยานยนต์ปลอดอุบัติเหตุ
รายงานเรื่อง เด็กปลอด
สำเร็จการศึกษาในเวลา 4 ปี
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
สถานการณ์ ผู้สูงอายุไทย ผศ.นันทยา อุดมพาณิชย์.
ความรู้พื้นฐานการเชื่อมโยงเครือข่าย
ความสำเร็จของนโยบายการวางแผนประชากรที่ทำให้อัตราเจริญพันธุ์ลดลง
ความสำคัญของการออม เพื่อเกษียณอายุ
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์ โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัด สุรินทร์ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การดำเนินงานป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน ช่วงเทศกาลปีใหม่ 2552
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการ การตรึงราคา/กำหนดระดับราคาน้ำมัน
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ ของขวัญปีใหม่ในปี 2547
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับค่าโดยสารรถเมล์ ขสมก.
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับผู้มีอิทธิพล
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ
สรุปผลการสำรวจ ความต้องการของประชาชนเกี่ยวกับ
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
แนวทางการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
สำนักวิชาการและแผนงาน
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 30 มิถุนายน 2555 สำนักวิชาการและ แผนงาน.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 31 พฤษภาคม 2555.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 15 มิถุนายน 2555.
ข้อ 1 โจทย์ ชาย อายุ 59 ปี มีไข้ ตรวจชีพจร และฟังได้หัวใจเต้นไม่ส่ำเสมอ ทำ ECG ดังแสดง จงอ่าน ECG นี้โดยละเอียด.
คู่มือการจัดทำแผนปฏิบัติการ ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน
นพ. ทักษพล ธรรมรังสี แผนงานพัฒนาศักยภาพนักวิจัย
แนวทาง การเจาะตลาดอินเดีย
การแจกแจงปกติ.
บุหรี่และสุรา ความแตกต่างของปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพระหว่าง ครัวเรือนที่มีเศรษฐานะและระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน วิชัย โชควิวัฒน สุพล ลิมวัฒนานนท์ กนิษฐา.
หกมิติความไม่เท่าเทียมระหว่างหญิงชาย หนทางเพื่อพัฒนาสู่ความเสมอภาค
โครงการศึกษาดูงานนอกสถานที่ สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลมุกดาหาร จำกัด
นโยบายด้านส่งเสริมสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ
คปสอ.เมืองปาน.
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
การวิเคราะห์วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในช่วงปี พ.ศ Analysis of Master’s Thesis in Social Studies.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจของครูผู้สอน ต่อการบริหารสถานศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางกุสุมา หาญกล้า.
นางสาวกาญจนา เลิศรุ่งรัศมี
ความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรทางการศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีฐานเทคโนโลยี
รายงานความก้าวหน้าการตรวจติดตามประเมิน
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การศึกษาการใช้เข็มขัดนิรภัย และผลกระทบจากการใช้ ในประเทศไทย ณัฐพงศ์ บุญตอบ ผู้ช่วยนักวิจัย ศาสตราจารย์ ยอดพล ธนาบริบูรณ์ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย

ทำไมถึงต้องมีการศึกษา การใช้เข็มขัดนิรภัย

ปัญหา 2 อุบัติเหตุและการเป็นพิษ 52% 51% 55% 57% 59% อุบัติเหตุทางถนนจัดเป็นสาเหตุอันดับต้นๆ ของการเสียชีวิตของคนไทยในปัจจุบัน ลำดับที่ สาเหตุการตาย 2543 (2000) 2544 (2001) 2545 (2002) 2546 (2003) 2547 (2004) 1 มะเร็งทุกชนิด 64% 68% 73% 79% 81% 2 อุบัติเหตุและการเป็นพิษ 52% 51% 55% 57% 59% 3 ความดันเลือดสูงและโรคหลอดเลือดในสมอง 19% 25% 27% 35% 4 โรคหัวใจ 32% 30% 28% 5 ปอดอักเสบและโรคอื่น ๆ ของปอด 15% 18% 21% 24% 26% 6 ไตอักเสบ กลุ่มอาการของไตพิการและไตพิการ 16% 17% 7 การบาดเจ็บจากการฆ่าตัวตาย ถูกฆ่าตาย และอื่น ๆ 14% 13% 12% 8 โรคเกี่ยวกับตับและตับอ่อน 11% 9 วัณโรคทุกชนิด 10% 10 ไข้เลือดออก 0% 1% 4% ที่มา: กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์

ปัญหา จำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน จากจำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน โดยเฉลี่ยประมาณ 14,000 รายต่อปี คิดเป็นมูลค่าความสูญเสียประมาณ 69,656 ล้านบาท ต่อปี หรือคิดเป็น 2.23 เปอร์เซ็นต์ ของรายได้ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ จำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน 20,000 10,000 15,000 5,000 2538 2537 2539 2540 2542 2541 2543 ที่มา: สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ความสูญเสียทางเศรษฐกิจเนื่องจากอุบัติภัยจราจร

ปัญหา แนวโน้มผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน สถิติการเสียชีวิตเนื่องจากอุบัติเหตุทางถนน พบว่ายังมีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมากและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น แนวโน้มผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน 20,000 10,000 15,000 5,000 2538 2537 2539 2540 2542 2541 2543 2545 2544 2546 2547 ที่มา: สำนักงานตำรวจแห่งชาติ

ปัญหา จำนวนผู้เสียชีวิตจากยานพาหนะประเภทต่างๆ การเสียชีวิตเนื่อง รถยนต์ เป็นสาเหตุ อันดับ 2 รองจากรถจักรยานยนต์ รถจักรยานหรือรถสามล้อ รถจักรยานยนต์ รถยนต์ส่วนบุคคล รถบรรทุก รถสองแถว รถบัส รถการเกษตร อื่นๆ จำนวนผู้เสียชีวิตจากยานพาหนะประเภทต่างๆ 5000 10000 15000 20000 ที่มา: ข้อมูล IS 28 โรงพยาบาล ระหว่างปี 2542 - 2546

ปัญหา อัตราการใช้เข็มขัดนิรภัยในประเทศไทยยังมีอัตราการใช้น้อยเมื่อเปรียบเทียบกับต่างประเทศ ในปี 2547 เฉลี่ยอัตราการใช้เข็มขัดนิรภัยมีเพียง ร้อยละ 69 80 40 60 20 สงขลา เพชรบรูณ์ ภูเก็ต พิจิตร นครสวรรค์ เชียงใหม่ ลำปาง ขอนแก่น นครราชสีมา ชลบุรี ฉะเชิงเทรา ปทุมธานี 100 ที่มา: Report of Seat Belt and Helmet Use, Road Safety in Thailand Report 2004

วัตถุประสงค์ของงานวิจัย เพื่อศึกษาหาอัตราการใช้เข็มขัดนิรภัยของผู้ใช้รถยนต์ เพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้เข็มขัดนิรภัยของผู้ใช้รถยนต์

ขอบเขตของงานวิจัย เชียงใหม่ อยุธยา ขอนแก่น ปทุมธานี นครปฐม สระบุรี สมุทรสาคร สุพรรณบุรี กรุงเทพมหานคร

ขอบเขตของงานวิจัย การสำรวจการใช้เข็มขัดนิรภัยด้วยการสังเกตุ การสำรวจการใช้เข็มขัดนิรภัยด้วยการใช้แบบสอบถาม

ขอบเขตของงานวิจัย การสำรวจการใช้เข็มขัดนิรภัยด้วยการสังเกตุ การสำรวจการใช้เข็มขัดนิรภัยด้วยการใช้แบบสอบถาม

การสำรวจ การใช้เข็มขัดนิรภัย

การสำรวจการใช้เข็มขัดนิรภัย จุดที่ใช้ในการสำรวจ แยกไฟแดง ถนน ปั๊มน้ำมัน

การสำรวจการใช้เข็มขัดนิรภัย

การสำรวจการใช้เข็มขัดนิรภัย วิเคราะห์หาอัตราการใช้เข็มขัดนิรภัยแยกตามปัจจัยต่าง ได้แก่ เพศ ประเภทของรถยนต์ ตำแหน่งที่นั่ง

ผลการสำรวจ การใช้เข็มขัดนิรภัย

สัดส่วนการใช้เข็มขัดนิรภัย จากจำนวนรถยนต์ 10,098 คัน ซึ่งมีจำนวนผู้ใช้รถยนต์ 15,609 คน พบว่า 40 60 20 จากภาพรวมทั้งหมดพบว่า มีจำนวนผู้ใช้ 8,547 คน ซึ่งคิดเป็นสัดส่วนใช้ ร้อยละ 55 ของจำนวนทั้งหมด ใช้ ไม่ใช้

สัดส่วนการใช้เข็มขัดนิรภัย จากจำนวนรถยนต์ 10,098 คัน ซึ่งมีจำนวนผู้ใช้รถยนต์ 15,609 คน พบว่า 40 60 20 รถปิคอัพ รถยนต์ส่วนบุคคล รถยนต์ส่วนบุคคล มีสัดส่วนใช้ ร้อยละ 64 และ รถปิคอัพ มีสัดส่วนใช้ ร้อยละ 49 ใช้ ไม่ใช้

สัดส่วนการใช้เข็มขัดนิรภัย จากจำนวนรถยนต์ 10,098 คัน ซึ่งมีจำนวนผู้ใช้รถยนต์ 15,609 คน พบว่า 40 60 20 หญิง ชาย เพศชาย มีสัดส่วนการใช้ ร้อยละ 58 และ เพศหญิง มีสัดส่วนการใช้ ร้อยละ 47 ใช้ ไม่ใช้

สัดส่วนการใช้เข็มขัดนิรภัย จากจำนวนรถยนต์ 10,098 คัน ซึ่งมีจำนวนผู้ใช้รถยนต์ 15,609 คน พบว่า 40 60 20 ผู้โดยสารตอนหน้า คนขับ ผู้โดยสารตอนหลัง 80 100 คนขับ มีสัดส่วนใช้ ร้อยละ 63 และ รองลงมาเป็น ผู้โดยสารตอนหน้า และ ผู้โดยสารตอนหลัง ซึ่งมีสัดส่วนการใช้ ร้อยละ 47 และ ร้อยละ 9 ตามลำดับ ใช้ ไม่ใช้

ปัจจัยที่มีอิทธิพล การใช้เข็มขัดนิรภัย

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้ เลือกปัจจัยต่างๆ ที่สำคัญ ที่อาจจะมีผลต่อการใช้เข็มขัดนิรภัย ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชึพ รายได้ ประเภทของยานพาหนะ ตำแหน่งที่นั่ง ระยะเวลาในการเดินทาง อายุของยานพาหนะ การเดินทางโดยยานพาหนะด้วยความเร็วต่ำ การเดินทางโดยยานพาหนะในเวลากลางคืน การตรวจตราการใช้เข็มขัดนิรภัยของเจ้าหน้าที่ตำรวจ ประสิทธิภาพของเข็มขัดนิรภัย กฎหมายการใช้เข็มขัดนิรภัยในตำแหน่งที่นั่งตอนหลัง การรณรงค์การใช้เข็มขัดนิรภัย

ผลการศึกษา ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ การใช้เข็มขัดนิรภัย

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้ จากผู้ใช้รถยนต์จำนวน 1,968 ราย วิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิเคราะห์ ตำแหน่งที่นั่ง ปัจจัยต่างๆ ระยะเวลาในการเดินทาง การใช้เข็มขัดนิรภัยเมื่อขับในความเร็วต่ำ ความเชื่อมั่นในประสิทธิภาพของเข็มขัดนิรภัย

ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ การใช้เข็มขัดนิรภัยในประเทศไทย ยังมีอัตราการใช้ที่น้อย เมื่อเปรียบเทียบ ในต่างประเทศ การใช้เข็มขัดนิรภัยในตำแหน่งที่นั่งด้านหลังยังมีอัตราการใช้ที่น้อยมาก เมื่อเปรียบเทียบกับตำแหน่งที่นั่งอื่นๆ ตำแหน่งที่นั่งถือว่าเป็นอีกปัจจัย ที่มีอิทธิพลต่อการใช้เข็มขัดนิรภัย ดังนั้น หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ควรมีการพิจรณาในเรื่องของการบังคับใช้เข็มขัดนิรภัย โดยเฉพาะในตำแหน่งที่นั่งด้านหลัง ผู้ใช้รถยนต์ควรตระหนัก และคำนึงถึงความสำคัญของการใช้เข็มขัดนิรภัย ว่าเป็นอุปกรณ์ที่สามารถช่วยลดความรุนแรงของการบาดเจ็บจากการเกิดอุบัติเหตุให้น้อยลงได้

“ผู้ขับขี่กระเด็นออกจากตัวถังรถจะเสี่ยงต่อการเสียชีวิตมากกว่าการไม่ กระเด็นออกไปถึง 6 เท่า” “เข็มขัดนิรภัยเป็นเครื่องมือที่ช่วยชีวิตคนมานักต่อนัก เพราะจะช่วยรั้งตัวเราไว้ไม่ให้ไปกระแทกกับพวกมาลัยหรือขอบหน้ารถในช่วงเวลาเพียงแวบเดียวที่เกิดอุบัติเหตุนั่นเอง” http://www.thaiparents.com/safetybt.html http://www.matichon.co.th/youth/youth.php?tagsub=031104&tag950=03you20230939&show=1

ขอบคุณครับ “เดินทางใกล้หรือไกล คาดเข็มขัดนิรภัยปลอดภัยกว่า” ที่มา: สถาบันการแพทย์ด้านอุบัติเหตุและสาธารณภัย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข