น.ส.ผาณิตดา แสนไชย รหัสนักศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีใหม่.
Advertisements

นางกาญจนา แย้มลักษณะเลิศ
การย้ายต้นกล้าแบบล้างราก
กลุ่มโรงเพาะเห็ดและโรงหล่อเทียน
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
เกษตรตามแนว ทฤษฏีใหม่
เทคโนโลยีระบบบำบัดน้ำเสียด้วยพืชกรองน้ำเสีย
คุณค่าทางอาหารสัตว์ของหญ้าแฝก
การต่อกิ่งมะเขือเทศ (Grafting )
บทบาทหน้าที่ผู้ตรวจราชการกรม
จัดทำโดย ด.ช.วริศ วิโรจนวัธน์
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
แนวคิดการส่งเสริมปศุสัตว์ไทย
ด.ญ.สุพรรณิกา วัฒนภูษิตสกุณ
เศรษฐกิจพอเพียง ด.ญ นันทิตา ชนปทาธิป ชั้นป.4/2 เลขที่28
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
1. ตัวแปรต้น 2. ตัวแปรตาม 3. ตัวแปรควบคุม การกำหนดและควบคุมตัวแปร.
บทเรียนการเป็นผู้นำนวัตกรรมเทคโนโลยีที่พ่ายแพ้
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
การใช้ใบสับปะรดในอาหารผสมเสร็จสำหรับโครีดนม
เมนูหลัก เนื้อหา อาจารย์ที่ปรึกษา ประวัติผู้จัดทำ.
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
โครงการคนเมืองเพชรทำความดีถวายพ่อหลวง
นโยบายของท่านเลขาธิการ ส.ป.ก. ด้านการพัฒนาแหล่งน้ำและระบบชลประทาน
โครงการพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝกอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
ปัญหา ….. ผลผลิต / รายได้ต่ำเพราะใช้พื้นที่ ผลิตพืชไม่เหมาะสม พื้นที่มีกำไร (40%) พื้นที่เท่า ทุน (40%) พื้นที่กินทุน ( ที่ลุ่ม ) พื้นที่กินทุน ( ที่ดอน.
ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งนราธิวาส
ไฮโดรโปนิกส์ (Hydroponics)
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
น.ส.ผาณิตดา แสนไชย รหัสนักศึกษา
แบ่งออกเป็น 3หมวด คือ 1. ข้อมูลหมวด ก. เป็นข้อมูลส่วนบุคคลของ เกษตรกร ประกอบด้วย ข้อ 1. ลักษณะการประกอบการเกษตร ข้อ 2. สมาชิกในครัวเรือนที่ร่วมกิจกรรม.
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
เท่าเดิม ลดลง เพิ่มขึ้น เท่าเดิม ลดลง การเพิ่ม-ลดของสมาชิกกลุ่ม
ความสำคัญ ของการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย โดย ดวงเดือน สมวัฒนศักดิ์ ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต สสข.1 ชัยนาท.
อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์
งานวิจัยภาควิชาพืชไร่
การจัดทำฐานข้อมูลการผลิตและการตลาดของสมาชิก
การปลูกพืชผักสวนครัว
ทิศทางการพัฒนาการเกษตรไทย
บริการตรวจวินิจฉัยศัตรูพืช
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 3
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
ระบบเกษตรแบบผสมผสาน.
ความหมายและความสำคัญเกษตรทฤษฎีใหม่
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
ทฤษฎีเฮิคเชอร์และโอลิน
โครงการศึกษาเศรษฐกิจ การผลิตและการตลาดไหมไทย
หัวข้อสัมมนา กลุ่มที่ 3 การฝึกอบรมของ ส. ป. ก. ควร อบรมอย่างไรบ้าง ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ ควรจัดทำ หลักสูตรอย่างไร การดำเนินงานพัฒนาเกษตรกรรุ่น ใหม่ จะทำอย่างไร.
เพื่อช่วยหาความสัมพันธ์ของ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และกำหนด เขตของพื้นที่เป้าหมาย และ ขอบเขตงาน รูปแบบ เดิม แผ่นใส ซ้อนทับ ปัจจุบัน GIS.
ชุดโครงการวิจัย ระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการปลูกยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: กรณีศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี (Decision Support System for Rubber Plantation.
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
By Supach Futrakul. By Supach Futrakul ณ หมู่บ้านแห่งหนึ่งมีเป็นหมู่บ้านที่จนมากอยู่บนภูเขาที่มีความแห้งแล้งมาก.
เทคนิคการพัฒนาวิจัยเชิงพื้นที่
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
เรื่อง การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ผู้จัดทำ นางสาว ดารุณี พรนิคม เลขที่ 13 นางสาว ธนัชพร ภู่มาลา เลขที่ 14 นางสาว นุสรา ไชยโยธา เลขที่ 16 นางสาว.
การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการมีงานทำ จังหวัดชุมพร.
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
พระคุณพ่อหลวง พ่อหลวงรักเรา เรารักพ่อหลวง ถัดไป.
การวิจัย และองค์ความรู้จากโครงการหลวง
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก จัดทำโดย ด.ช.พงศ์ธนัช เสนอ อ.มุทิตา หวังคิด.
โดย ครูติดแผ่นดินลำไย เชียงราย
ผลการดำเนินงานวิจัยกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดตรัง
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายมะหะหมัด โต๊ะยะลา
1. บทคัดย่อ 2. คำนำ 3. วิธีดำเนินการ 3.1 การเลือกพื้นที่ เป้าหมายและพื้นที่ ทดสอบ 3.2 การวิเคราะห์พื้นที่ ( วินิจฉัยปัญหา ) 3.3 การวางแผนการทดลอง.
โดย ครูติดแผ่นดินชา เชียงราย
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

น.ส.ผาณิตดา แสนไชย รหัสนักศึกษา 542132007 หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ (Principles of Knowledge Management Research) KM704 น.ส.ผาณิตดา แสนไชย รหัสนักศึกษา 542132007

การจัดการความรู้เพื่อการพัฒนาทักษะเกษตรกรผู้เพาะปลูกถั่วอะซูกิ : กรณีศึกษา มูลนิธิโครงการหลวง

ที่มา ความสำคัญ โครงการหลวงได้เริ่มต้นขึ้นเมื่อปีพ.ศ.2512 เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเล็งเห็นถึงปัญหาการปลูกฝิ่นของชาวเขา จึงทรงมีพระราชดำริว่า ถ้าจะให้ชาวเขา เลิกปลูกฝิ่นก็ต้องหาพืชอื่นที่ขายได้ราคาดีกว่าและมีความเหมาะสมที่จะปลูกในที่สูง มาให้ชาวเขาปลูกทดแทนเป็นรายได้เสียก่อน จึงจะสามารถเลิกปลูกฝิ่นได้ พืชทดแทนที่โครงการหลวงได้นำเข้ามาทำการทดลองปลูกบนที่สูง มีจำนวนมากมาย หลายชนิด ทั้งพันธุ์ไม้ ผลไม้ พืชเมืองหนาวต่างๆมีจำหน่ายตลอดปี ซึ่งเป็นที่รู้จักและนิยมทั่วไป สามารถส่งออกต่างประเทศ ลดการนำเข้าจากต่างประเทศได้

ถั่วอะซูกิ เป็นพืชที่โครงการหลวงกำลังต้องการพัฒนา เพิ่มผลผลิตส่งให้ตลาด และขยายตลาดเติบโตได้ในอีก 4-5 ปีข้างหน้า ซึ่งเป็นพืชใหม่และเป็นพืชตระกูลถั่วที่ยังไม่ได้เข้าอยู่ในระบบตลาดเหมือนถั่วชนิดอื่นๆ เกษตรกรที่เพาะปลูกถั่วอะซูกิมีอยู่ในหลายพื้นที่ได้แก่ ปางอุ๋ง, แกน้อย, ขุนแปะ, หนองเขียว ซึ่งจะมีวิธีการเพาะปลูกที่แตกต่างกันตามขนบธรรมเนียมของแต่ละชนเผ่า พื้นที่เพาะปลูก การใช้สารเคมี เทคโนโลยีในการเพาะปลูก และความสามารถทักษะของแต่ละบุคคล จึงต้องการพัฒนาทักษะของเกษตรกรในด้านการเกษตรที่เหมาะสม และให้ได้ผลผลิตที่ดีมีปริมาณมากขึ้น โดยใช้ต้นทุนที่ต่ำลง

โจทย์วิจัย โจทย์วิจัยหลัก - จะสามารถพัฒนาทักษะทางด้านการเกษตรของเกษตรกรผู้เพาะปลูกถั่วอะซูกิได้อย่างไร โจทย์วิจัยรอง - ปัจจุบันการทำเกษตรของเกษตกรเป็นอย่างไร - จะสามารถปรับเปลี่ยนแนวทางการผลิตเดิมได้หรือไม่ อย่างไร - สภาพแวดล้อม พื้นที่การเพาะปลูกเอื้ออำนวยกับการเพาะปลูกได้ดีพอหรือยัง

วัตถุประสงค์ - เพื่อพัฒนา/เพิ่มทักษะให้เกษตรกรด้านแนวทางการเพาะปลูกถั่วอะซูกิ - เพื่อให้เกษตรกรทำการเกษตรยั่งยืน - ลดต้นทุนการผลิต เพิ่มผลผลิตได้ โดยไม่มีหนี้สิน

ผลที่คาดว่าจะได้รับ - เกษตรกรได้รับความรู้ที่เหมาะสมในกระบวนการเพาะปลูกถั่วอะซูกิ - สภาพแวดล้อม พื้นที่เพาะปลูกยังคงอุดมสมบูรณ์ - ลดต้นทุนการผลิต ผลผลิตสูงขึ้น