กฎหมาย กับ ความเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรม กฎหมาย กับ ความเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรม โดย อ.ทศพล ทรรศนกุลพันธ์
กฎหมาย กับ ความเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรม กฎหมาย กับ ความเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรม อิทธิพลระหว่างวัฒนธรรม กับ กฎหมาย(รัฐ) ความเปลี่ยนแปลงของสังคม ผลกระทบต่อวัฒนธรรม กับ กฎหมาย วัฒนธรรม กับ กฎหมาย – วัฒนธรรมการสื่อสาร กับ กฎหมาย ความท้าทายของวัฒนธรรมกับกฎหมายในโลกสมัยใหม่
ขอบเขตวัฒนธรรมที่จะศึกษา วัฒนธรรมการสื่อสาร - ว่าด้วยสัมพันธภาพระหว่าง คน-คน - รัฐ/ทุน มากำหนดลักษณะความสัมพันธ์ทั้ง เอื้อ ครอบงำและขัดขวาง กฎหมายเป็นกติกาและพื้นที่ ต่อสู้เพื่อกำหนดวัฒนธรรม และความหมายในการใช้ พื้นที่/เวลา ในการดำเนินชีวิต
กระบวนทัศน์ที่จะศึกษา / ความเข้มข้นของวัฒนธรรม กระบวนทัศน์ในการศึกษาวัฒนธรรมกับกฎหมาย ก่อร่างสร้างตัว ครอบงำ รื้อถอน ฟื้นฟู
อิทธิพลของวัฒนธรรม ต่อ กฎหมาย(รัฐ) วัฒนธรรมมีผลต่อกฎหมาย - การจัดลำดับอำนาจ ผู้ปกครอง พลเมือง ในสังคมนั้น - การสร้างความชอบธรรมของผู้ที่ปกครอง โดยอาศัยอำนาจนำ - การสร้าง ความดี ความงาม ความจริง ให้คนในสังคม - การฝ่าฝืน ชั่ว นำไปสู่การเสื่อมสลายอำนาจนำของบุคคลในสังคม
อิทธิพลของกฎหมาย(รัฐ) ต่อ วัฒนธรรม กฎหมายมีส่วนส่งเสริมเกื้อกูลวัฒนธรรม - การเปิดเสรีภาพให้ฟื้นฟู รักษา วัฒนธรรม - การลงโทษบุคคลผู้ทำลาย ฝ่าฝืน วัฒนธรรม กฎหมายมีทำลายวัฒนธรรม - การปฏิวัติวัฒนธรรม เพื่อทำลายเครื่องมือทำซ้ำลัทธิวัฒนธรรมชนชั้น - การไม่รับรองผลทางกฎหมายของวัฒนธรรม เช่น ภาษาถิ่น
วัฒนธรรมต่างๆ กับ ผลกระทบต่อกฎหมาย รัฐชาติ กับ การสถาปนาวัฒนธรรมแห่งชาติ - วัฒนธรรมชาตินิยม – เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย - การปฏิวัติวัฒนธรรมสังคมนิยม – สร้างความเสมอภาคทางวัฒนธรรม วัฒนธรรมครอบโลก - แบบเชิงเดี่ยว วัฒนธรรมสะสมทุน วัฒนธรรมบริโภค วัฒนธรรมป๊อบ - วัฒนธรรมครอบโลกโดยคนส่วนน้อย ดี เด่น ดัง (NewEmpire) - วัฒนธรรมเอาอย่างต้นแบบเชิงอุตสาหกรรม ป๊อบสตาร์ ไอด้อล เซเลป
วัฒนธรรมการสื่อสาร กับ กฎหมาย วัฒนธรรมการสื่อสารในระบบกฎหมาย ความสัมพันธ์เชิงอำนาจ แย่งชิงอำนาจเหนือ พื้นที่ และ เวลา ในชีวิตคน ประชาชน – ทุน – รัฐ
รัฐ กับ การควบคุมเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การปิด ยกเลิก เพิกถอน ใบอนุญาต การประกอบการสื่อธุรกิจ กสทช.
รัฐ กับ การควบคุมเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น เซ็นเซอร์ หนัง เพลง วรรณกรรม วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ พรบ.
รัฐ กับ การควบคุมเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การใช้มาตรการทางกฎหมายอื่นมาปิดกั้นเสรีภาพ เช่น ปอ.ม.112
รัฐ กับ การควบคุมเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การใช้ พรบ.คอมพิวเตอร์ มาจัดการผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ICT กดไลค์/แชร์
กฎหมายของรัฐกับ การแสดงความคิดเห็น บรรษัทฟ้องผู้ที่แสดงวามคิดเห็นเป็นโทษกับตน และ Libel Law
วัฒนธรรมการสื่อสาร กับ กฎหมาย การหาจุดสมดุลระหว่าง เสรีภาพ กับ ความสงบเรียบร้อยศีลธรรมอันดี - ระบบเปิดเสรี ฟ้องเช็คบิลทีหลัง - ระบบรัฐ/ส่วนร่วม จัดเรตติ้ง - ระบบรัฐออกใบอนุญาต - ระบบรัฐวางผัง และกำกับ เนื้อหาสื่อสาธารณะ - ระบบรัฐจัดทำสื่อด้วยตัวเอง ช่องทางต่อสู้เพื่อกำหนดวัฒนธรรมในการสื่อสาร – ร่างรัฐธรรมนูญ ออก พรบ. สร้างฐานนโยบายพรรคการเมือง ตุลาการตีความ