การพัฒนาสังคมเชิงรุก มิติใหม่ของการพัฒนาในช่วงแผนฯ 10 ( )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการดำเนินงาน ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ทางออก ทางรอดชนบทไทย ในกระแสอาเซียน”
วิกฤตเศรษฐกิจ และ ผลกระทบต่อแรงงาน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 10
นายบัณฑิตย์ ศรีพุทธางกูร สำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
วิสัยทัศน์ มุ่งสู่สังคมคุณภาพบนพื้นฐานความรับผิดชอบร่วมกัน
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
ความสำเร็จของนโยบายการวางแผนประชากรที่ทำให้อัตราเจริญพันธุ์ลดลง
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทีสากล พ. ศ
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
นายกิติศักดิ์ สินธุวนิช รองเลขาธิการฯ 30 มิถุนายน 2549
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
แนวทางการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
แนวคิดความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ โครงการ และงบประมาณ
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)
คู่มือการจัดทำแผนปฏิบัติการ ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
ความก้าวหน้าการจัดทำแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
หกมิติความไม่เท่าเทียมระหว่างหญิงชาย หนทางเพื่อพัฒนาสู่ความเสมอภาค
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
นโยบายด้านบริหาร.
“ยุทธศาสตร์การพัฒนาทุนทางสังคม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน”
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
รองเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
ความยากจนกับสังคมไทย ปัญหาและทางออก
ทีม นำ “ การนำที่มั่นคง และยั่งยืน ”. “ บางครั้ง การยอมถอยซักก้าว เราจะเห็นทะเลที่ใหญ่ และท้องฟ้าที่สดใสกว่าเดิม ”
เป้าหมายการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ การพัฒนาจังหวัด ปี 2547 ตัวชี้วัดผลการ ดำเนินงาน ผู้รับผิดชอบ หลัก 8. ระดับ ความสำเร็จของ การจัดทำ ทะเบียนเพื่อ แก้ไขปัญหา.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
1 กระบวนทัศน์ใหม่เพื่อ ยุคไอที โดย รักษาราชการแทนผู้อำนวยการสำนักยุทธศาสตร์ อุดมศึกษาต่างประเทศ ( นางสาวพรทิพย์ กาญจนนิยต ) 7 สิงหาคม 2546 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาสังคมเชิงรุก มิติใหม่ของการพัฒนาในช่วงแผนฯ 10 (2550-2554) สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ วันที่ 24 มิถุนายน 2548

กรอบการนำเสนอ ความเป็นมา สถานการณ์และประเด็นท้าทาย กรอบแนวคิดและประเด็นเชิงยุทธศาสตร์ กลไกสู่ความสำเร็จ

ความเป็นมา การพัฒนาสังคมเชิงรุก เตรียมจัดทำแผนฯ 10 มติ ครม. 20 ก.ค. 47 กรอบการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ/สังคม แผนบริหารราชการแผ่นดิน เตรียมจัดทำแผนฯ 10 ระดมความคิดในวงกว้างจากทุกภาคส่วนใน 5 เรื่อง Year End การเปลี่ยนแปลงบริบทการพัฒนา สร้างฐานเศรษฐกิจมั่นคง/ยั่งยืน เพิ่มมูลค่าผลผลิตด้วยฐานความรู้ เชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลก/ภูมิภาค การพัฒนาสังคมเชิงรุก เสนอ กก.สศช. ครม. 11 ม.ค. 48 12 เม.ย.48

สถานการณ์และประเด็นท้าทาย สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาคน/สังคม คนและสังคม การพัฒนาศักยภาพคน . สุขภาพ/การศึกษา /ผลิตภาพ การบริหารจัดการ สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาคน/สังคม

สถานการณ์คนและสังคมไทย เข้าถึงหลักประกันสุขภาพร้อยละ 99 อายุคาดหมายเฉลี่ย คนไทย 74.9 ปี 67.9ปี ประชากรโลก 68 64 ญ ช Bright Side ด้านสุขภาพ ศักยภาพคนไทย เจ็บป่วยเรื้อรัง 69.3% 60-69 90 + ช่วงอายุ ผู้ป่วยโรคหัวใจสูงเป็นอันดับ 1 (451.45 ต่อประชากรแสนคน) 83.3% โรคอ้วน 12.3% (2545) ความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ /เจ็บป่วยจากการทำงาน Dark Side

สถานการณ์คนและสังคมไทย เด็กในวัยเรียนเข้าถึงการศึกษามากขึ้นทุกระดับ แหล่งเรียนรู้/IT กระจายกว้างขวางมากขึ้น Bright Side ศักยภาพคนไทย การเรียนรู้ ตลอดชีวิต ปีการศึกษาเฉลี่ยคนไทย อายุ 15+ ไม่ถึง 9 ปี คะแนนวิชาสำคัญต่ำกว่า 50% คณิตฯ อังกฤษ วิทย์ 41.7 41.14 41.41 ประถมฯ 6 ขีดความสามารถด้าน S&T ลดลง 43rd 55th ความไม่เสมอภาคทางการศึกษา Dark Side ลดศักยภาพในการพัฒนาตนเอง ระดับ อุดมศึกษา กลุ่มจนสุดเข้าถึง 0.37% กลุ่มรวยสุด 67.2 %

สถานการณ์คนและสังคมไทย การคุ้มครองทางสังคมครอบคลุมดีขึ้น ครอบคลุมลูกจ้าง 7.39 ล้านคน (21.86% ของกำลังแรงงาน) Bright Side สภาพแวดล้อม ที่เอื้อต่อการพัฒนา ความมั่นคง ปลอดภัย อาชญากรรมซับซ้อน/หลากหลายรูปแบบ เช่น ธุรกรรมผิดกฎหมาย / ค้าประเวณีผ่านอินเทอร์เน็ต อุบัติเหตุ/อุบัติภัยยังเป็นปัญหาต่อเนื่อง ปี 2545 ปี 2547 91,623 124,530 จำนวนคดี ผู้บาดเจ็บ/เสียชีวิต 82,429 107,930 ราย คดี Dark Side

สถานการณ์คนและสังคมไทย ภาคธุรกิจมีบทบาทในการพัฒนาสังคมมากขึ้น ชุมชนเข้มแข็ง/มีส่วนสนับสนุนการพัฒนาสังคมมากขึ้น ประเทศไทยมีความหลากหลายทางภูมิปัญญา Bright Side สภาพแวดล้อม ที่เอื้อต่อการพัฒนา บทบาทของภาคีการพัฒนาในการพัฒนาสังคม สถาบันครอบครัวมีแนวโน้มอ่อนแอลง สถาบันศาสนายังไม่สามารถจูงใจให้คนเข้าถึงหลักธรรมอย่างแท้จริง วัฒนธรรม/ภูมิปัญญายังไม่ถูกนำมาใช้พัฒนาเศรษฐกิจ/สังคมเท่าที่ควร Dark Side สื่อมวลชนมีส่วนชี้นำสังคมสูง แต่บางส่วนยังไม่คำนึงถึงผลกระทบทางสังคม

สถานการณ์คนและสังคมไทย ความยากจน  จำนวนคนจนลดลง แต่ยังมีปัญหาเชิงโครงสร้างและความเหลื่อมล้ำ การศึกษาของหัวหน้าครัวเรือน ขนาดครัวเรือน อายุของหัวหน้าครัวเรือน

สถานการณ์คนและสังคมไทย งบประมาณด้านสังคมเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเฉลี่ย 41.3% ของงบประมาณรายจ่ายรวม Bright Side ระบบบริหาร จัดการ นโยบาย/กระบวนการ บริหารจัดการ กระจุกตัวอยู่ในเขตเมืองมากกว่าชนบท ช่องว่างรายได้ระหว่างกลุ่มรวยสุดกับกลุ่มยากจนสุดต่างกันถึง 13.2 เท่า (ปี 45) ประสิทธิภาพ/ความไม่เป็นธรรมในการจัดสรรทรัพยากร Dark Side

สถานการณ์คนและสังคมไทย ระบบบริหาร จัดการ นโยบาย/กระบวนการ บริหารจัดการ บูรณาการน้อย รูปแบบเดียวใช้ทั่วประเทศ เน้นการประเมินผลตามวัตถุประสงค์ มากกว่าประเมินผลกระทบในระยะยาว ระบบข้อมูล/ตัวชี้วัดมีจุดอ่อน ส่วนใหญ่เป็น key result indicator มากกว่า key performance indicator Dark Side

ประเด็นท้าทาย การเคลื่อนย้ายคน การเปลี่ยนแปลง อย่างเสรี โครงสร้างประชากร การพัฒนาด้าน เทคโนโลยีกับผลกระทบ ต่อสังคมไทย การเคลื่อนย้ายคน อย่างเสรี

ประเด็นท้าทาย การเปลี่ยนแปลง โครงสร้างประชากร คนวัยทำงาน วัยเด็ก  แนวโน้มเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุในช่วงเวลาอันสั้น คนวัยทำงาน วัยเด็ก วัยสูงอายุ

จากจำนวนปีที่สัดส่วนประชากรอายุ 65 + ไทยเข้าสู่สังคม ผู้สูงอายุภายใน ช่วงเวลาอันสั้น มีเวลาเตรียม คนและระบบ ได้น้อยลง ไทยจะอยู่ใน ช่วงปันผลทาง ประชากรถึง ปี 2552 1 2 นัยสำคัญจากการเปลี่ยนแปลง โครงสร้างประชากรไทย สิงคโปร์ (18 ปี) 7.2% 14.0% จีน (30 ปี) 6.8% 16.0% ไทย (20 ปี) 7.1% 13.8% 2553 2573 2543 2563 2572 Bright Side Dark Side ความเร็วของการเพิ่มประชากรสูงอายุพิจารณา จากจำนวนปีที่สัดส่วนประชากรอายุ 65 + จากร้อยละ 7 เป็นร้อยละ 14

อัตราส่วนการเป็นภาระ  วัยแรงงานต่อผู้สูงอายุ 2543 2553 2563 วัยแรงงาน 5.7 คน ต่อผู้สูงอายุ 1 คน วัยแรงงาน 7 คน ต่อผู้สูงอายุ 1 คน วัยแรงงาน 3.8 คน ต่อผู้สูงอายุ 1 คน Dark Side

ประเด็นท้าทาย การพัฒนา เทคโนโลยีกับผลกระทบ ต่อสังคมไทย Dark Side ความเสี่ยงด้านสุขภาพ /สิ่งแวดล้อม สูงขึ้น อาชญากรรมอิเล็กทรอนิกส์ การแพร่กระจายของ สื่อลามก พฤติกรรมคนไทยเปลี่ยนแปลง การพัฒนา เทคโนโลยีกับผลกระทบ ต่อสังคมไทย ผลิตยารักษาโรค/พัฒนาการด้านการแพทย์ การศึกษาต่อเนื่อง /การเรียนรู้ตลอดชีวิต สังคมฐานความรู้ Bright Side Dark Side

ประเด็นท้าทาย Globalization คนและสังคมไทย การเคลื่อนย้ายคนเสรี Inbound/outbound/local Bright Side คนและสังคมไทย Dark Side ดึงดูดกำลังคนที่มีคุณภาพ สร้างรายได้ / technology transfer คนไทยไปทำงานต่างประเทศมากขึ้น ค้ามนุษย์ ปัญหาความมั่นคง/ก่อการร้าย อาชญากรรมข้ามชาติ/ยาเสพติด การแพร่กระจายของโรค ปัญหาวัฒนธรรม ค่านิยม การบริโภค Maximize/Utilize

การพัฒนาสังคมเชิงรุก เป้าประสงค์ “คนไทยเป็นคนดี มีคุณภาพ และมีความสุข อยู่ในสังคมที่เอื้ออาทร สันติ และเป็นธรรม” เป้าประสงค์ การพัฒนาสังคมเชิงรุก

เครือข่ายภาคีการพัฒนา เศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม กรอบแนวคิด ต้องปรับเปลี่ยน กระบวนทัศน์ใหม่ บริหารจัดการ ที่มีประสิทธิภาพ สมดุลกับมิติ การพัฒนาอื่นๆ กรอบแนวคิด cost  Investment  value creation เฉพาะหน้า  มองอนาคต ประสานพลัง เครือข่ายภาคีการพัฒนา เศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม

ประเด็นเชิงยุทธศาสตร์ 1. ยกระดับคุณภาพ คนไทยสู่สังคม แห่งการเรียนรู้ 5. ปฏิรูประบบบริหาร จัดการให้เอื้อต่อ การพัฒนา 5 ประเด็นเชิงยุทธศาสตร์ 4. เตรียมความพร้อมสู่ สังคมผู้สูงอายุ 2. สร้างความมั่นคง ปลอดภัยทางสังคม 3. รักษาคุณค่าของ สังคมไทย

กลไกสู่ความสำเร็จ เป้าประสงค์ ชุมชน ภาคี แข็งแกร่ง บริหารจัดการ มีประสิทธิภาพ ภาคี แข็งแกร่ง รากฐานสังคม เข้มแข็ง ชุมชน เป้าประสงค์

ประเด็นเพื่อพิจารณา  ข้อคิดเห็นต่อกรอบแนวคิดและประเด็น เชิงยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมเชิงรุก ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการขับเคลื่อน สังคมเชิงรุก ประเด็นอื่นใดตามที่เห็นสมควร

สถานการณ์คนและสังคมไทย สัดส่วนผู้ประกันตนต่อกำลังแรงงาน ครอบคลุมลูกจ้าง 7.39 ล้านคน ที่มา: สำนักงานประกันสังคม

สถานการณ์คนและสังคมไทย ด้านศึกษา 55.7% ศาสนา/วัฒนธรรม 1.6%

ที่มา http://www.nesdb.go.th/Portals/0/news/annual_meet/48/present/05_4.ppt สืบค้นวันที่ 18 กันยายน 2552