การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ : การวิเคราะห์หาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
น้ำทิ้ง คือ น้ำที่ใช้แล้วและถูกปล่อยทิ้งลงแหล่งน้ำ ซึ่งอาจได้รับการบำบัดหรือไม่ก็ได้ ทั้งนี้น้ำทิ้งต้องมีคุณภาพได้ตามมาตรฐานน้ำทิ้ง หลายหน่วยงานที่มีการประกาศใช้มาตรฐานคุณภาพน้ำทิ้งจากแหล่งต่างๆ.
Advertisements

โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
สมดุลเคมี.
การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์
โดย วราภรณ์ ถาวรวงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ ศูนย์อนามัยที่๑.
ตอนที่ 1 ก๊าซละลายในของเหลว
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
งานผลิตปุ๋ยชีวภาพ เป็นการนำสิ่งเหลือใช้ในชีวิตประจำวันได้แก่เปลือกกล้วยนำมาผสมกับ หัวเชื้อจุลินทรีย์ และกากน้ำตาลในอัตราส่วน เปลือกกล้วย 2 กก.: เชื้อจุลินทรีย์
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
ตัวอย่างการคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่องความเข้มข้นของสารละลาย
มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
การทดลอง วัดปริมาตรของน้ำ
ลักษณะเป็นผลึก ไม่มีสี ละลายได้ดีในน้ำ
ความกระด้างทั้งหมดของน้ำ
ชุดทดสอบ ปรอทแอมโมเนีย ในเครื่องสำอาง
โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี
สารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ
Laboratory in Physical Chemistry II
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Measurement of Gases KM 57.
การทดลองที่ 7 การวัดความร้อนด้วยเครื่องแคลอริมิเตอร์
การทดลองที่ 1 การหาความดันไอและความร้อนแฝง ของการเกิดไอของน้ำ
การทดลองที่ 9 การศึกษาจลนพลศาสตร์ของปฏิกิริยาสำหรับการวิเคราะห์ระดับแอลกอฮอล์ จากลมหายใจ (A Kinetic Study of “Breathalyzer” Reaction )
ทบทวนความรู้ การสอบปฏิบัติการครั้งที่ 1
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
การทดสอบหาปริมาณแคลเซียมในน้ำดื่ม
ปัญหาคุณภาพน้ำและแนวทางแก้ไขในกรมชลประทาน
แบบฝึกหัดการเตรียมสารละลาย
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ
บทปฏิบัติการที่ 5 PLANT TISSUE ANALYSIS.
ดังนั้นในสารละลายมี H3O+ = 5x10-5 mol
การแตกตัวของกรดแก่-เบสแก่
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณสารสัมพันธ์
โครงการอบรม เรื่อง การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากข้าว ดร. นันทพร พึ่งสังวร
ประกาศการทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4209 (พ. ศ
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ (Reversible change)
ชุดทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันที่ใช้ทอด
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
นักโภชนาการชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 6
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
โซเดียมไทโอไนต์ หรือ โซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ สารห้ามใช้
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
และความเป็นกรด-ด่างของดิน
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
8.5 คุณภาพน้ำ ….. แบ่งออกเป็น 3 ด้าน
ดร. บัณฑิตย์ เต็งเจริญกุล
อาหารและสารอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งที่รับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่เป็นโทษต่อร่างกายและมีประโยชน์ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารจะเรียกว่า “สารอาหาร”
วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภค
การวิเคราะห์ดิน นางกาญจนาภรณ์ พรรณกมลกุล นางสาวพัชรา แสนสุข
สารสกัดจากก้านเห็ดหอมแห้งที่มีเลนไธโอนีนเป็นส่วนประกอบ
“เอ็น (N) พี (P) และ เค (K)”
เรื่อง น้ำสมุนไพร.
การทดลองที่ 2 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I อัตราการเกิดปฏิกิริยา
การเตรียมยาในโรงพยาบาล
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่องกำหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้ง จากระบบบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 2 มิถุนายน.
ประกาศการทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4210 (พ. ศ
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
สมดุลเคมี เช่น น้ำ (ของเหลว)
ปฏิบัติการเรื่อง การสกัดของเหลวด้วยของเหลว Liquid – Liquid Extraction
1 การผลิตเอทานอลและกรด อินทรีย์ จากลำไยอบแห้ง  นางสาวฐิติพร กัน จันวงศ์  นายณัฐพงษ์ กาละปัน  อ. ดร. นพพล เล็กสวัสดิ์ รหัสโครงการ R50D01001.
มลภาวะ (pollution).
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ : การวิเคราะห์หาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ โดย อ.รัตนสุดา ไชยเชษฐ์

หลักการในการวิเคราะห์คุณภาพน้ำ การวิเคราะห์เชิงปริมาตร การวิเคราะห์โดยอาศัยหลักการดูดกลืนแสง การวิเคราะห์เชิงเคมีไฟฟ้า

การวิเคราะห์หาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ ใช้หลักการวิเคราะห์เชิงปริมาตร ใช้เทคนิคการวิเคราะห์ที่มีชื่อเรียกว่า Winkler method หาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ ในหน่วย มิลลิกรัม/ลิตร (ppm)

หลักการ น้ำที่เก็บมาจากแหล่งน้ำ ปริมาณออกซิเจนมีความแปรปรวนตามระยะเวลา เพราะออกซิเจนจะถูกสิ่งมีชีวิตในน้ำนำไปใช้ การตรึงออกซิเจน (สีน้ำตาล) Mn2+ + 2OH- + O2 MnO2 + H2O (สีขาว) Mn2+ + 2OH- Mn(OH)2

MnO2 + 2I- + 4H+ Mn2+ + I2 + 2H2O I2 + starch-I2 + 2Na2S2O3.H2O Na2S + O6 + 2NaI + 10H2O + แป้ง

วิธีการวิเคราะห์ เก็บตัวอย่างน้ำด้วยขวด BOD แล้วเติมสารละลายแมงกานัสซัลเฟต 2 มล. และสารละลายอัลคาไล-ไอโอไดด์-เอไซด์ 1 มล. ปิดฝาขวด BOD แล้วพลิกกลับไปมาประมาณ 20 ครั้ง เติมกรดซัลฟิวริก 2 มล. ลงในตัวอย่างน้ำ พลิกขวดกลับไปมาเพื่อละลายตะกอน ตวงตัวอย่างน้ำจากข้อ 2 ปริมาตร 101 มล. ใส่ในขวดรูปชมพู่ แล้วนำมาไทเทรตกับสารละลายโซเดียมไทโอซัลเฟต

เมื่อตัวอย่างน้ำมีสีจางลง เติมน้ำแป้งสุก 4 – 5 หยด แล้วไทเทรตต่อจนกระทั่งสารละลายเปลี่ยนสีจากสีน้ำเงินเป็นไม่มีสี บันทึกปริมาตรของสารละลายโซเดียมไทโอซัลเฟตที่ใช้ไทเทรต และคำนวณหาปริมาณออกซิเจน

การคำนวณ ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ (DO) (mg/l) = (V1) (N) (8) (1,000) V2 V1 หมายถึง ปริมาตรของโซเดียมไทโอซัลเฟตที่ใช้ไทเทรต (มล.) V2 หมายถึง ปริมาตรตัวอย่างน้ำ ( 100 มล.) N หมายถึง ความเข้มข้นของสารละลายโซเดียมไทโอซัลเฟต

การเทียบสารละลายมาตรฐาน นำสารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์ 100 มล.ใส่ในขวดรูปชมพู่ ขนาด 250 มล. เติมกรดซัลฟิวริก 10% ปริมาณ 10 มล. และเติมสารละลายโพแทสเซียมไดโครเมต 0.025 N ปริมาตร 10 มล. แล้วนำมาไทเทรตกับโซเดียมไทโอซัลเฟต จนกระทั่งสีของสารละลายอ่อนลง จึงเติมน้ำแป้งสุก 4 – 5 หยด แล้วไทเทรตจนกระทั่งสีน้ำเงินหายไป บันทึกปริมาตรโซเดียมไทโอซัลเฟต และคำนวณหาความเข้มข้นของสารละลายโซเดียมไทโอซัลเฟต

ผลการเทียบสารละลายมาตรฐาน N2 หมายถึง ความเข้มข้นของสารละลายมาตรฐานโพแทสเซียมไดโครเมต (0.025 N) V2 หมายถึง ปริมาตรของสารละลายมาตรฐานโพแทสเซียมไดโครเมต ( 10 ml) V1 หมายถึง ปริมาตรของโซเดียมไทโอซัลเฟตที่ใช้ไทเทรต (ml) = ……………………. N1 หมายถึง ความเข้มข้นของโซเดียมไทโอซัลเฟต (N) = …………………………….