การพัฒนาสหกิจศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา ดร.กัณทิมา ศิริจีระชัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลประเมินสถานภาพและ ข้อเสนอมาตรการสร้างความเข้มแข็ง IBC ของประเทศไทย
Advertisements

กิจกรรมนักศึกษาก่อนออกปฏิบัติงาน (ต่อ)
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
กลุ่มที่ 2 สถาบันที่ยังไม่มี IBC
Graduate School Khon Kaen University
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
สหกิจศึกษา กับการพัฒนาบัณฑิต สู่โลกไร้พรมแดน
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งน้ำ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสุขภาพจิต Master of Science (Mental Health) ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วัตถุประสงค์ของหลักสูตร.
Co-operative education
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
การรับเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา
Welcome to SUT Institute of Engineering
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
มคอ.4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
สรุปการปฎิบัติสหกิจศึกษา
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานด้านการ บริการวิชาการ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มีจำนวนกิจกรรม / โครงการ บริการวิชาการและวิชาชีพ ในปีการศึกษา 2548 จำนวน 27 กิจกรรม ทั้งนี้
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ไทย ทิพย์สุวรรณกุล
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเกณฑ์ฯ
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
นโยบายด้านงานแพทยศาสตรศึกษา
นโยบาย ฝ่ายการศึกษาหลังปริญญา
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
ผลการ ดำเนินการด้าน การเรียนการ สอน. 1. การสรรหานักศึกษาที่มีคุณภาพดีเข้า คณะใด้มากขึ้น การลดจำนวนรับนักศึกษา ลงประมาณ 150 คน รับนักศึกษา 17 ช่องทาง คณะกรรมการดำเนินการประชาสัมพันธ์การรับ.
ปฐมนิเทศการฝึกงาน คณะวิศวกรรมศาสตร์
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
ณ วิทยาเขตศรีราชา จ.ชลบุรี
1. ชื่อสถาบัน ให้ระบุชื่อ สถาบันการศึกษา คณะวิชา และภาควิชาที่เปิดสอน หลักสูตร 2. ชื่อหลักสูตร ให้ระบุชื่อ หลักสูตรและสาขาวิชาให้ ชัดเจน แบบรายงานข้อมูลการ.
1 คณะอนุกรรมการดำเนินการสอนที่ มุ่งเน้นความรู้คู่คุณธรรม และ สอดแทรกจริยธรรม เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาเขตภาค กลางเพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย สกอ. ผู้แทนสถาบันในเครือข่ายที่แม่
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
ผศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
การจัดการความรู้ KMUTNB
โครงการส่งเสริมการพัฒนาสหกิจศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา
การเป็นคณาจารย์นิเทศ มืออาชีพ
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
วิจัยอย่างไร ไม่ให้เป็นภาระ แต่เป็นส่วนหนึ่ง ของการเรียนการสอน
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
กระบวนการสหกิจศึกษา 1. นักศึกษาแจ้งความจำนงลงทะเบียนเรียนรายวิชาสหกิจศึกษาต่อคณะ/สาขาวิชา 2. นักศึกษาเข้าประชุมเพื่อรับฟังการชี้แจงรายละเอียดต่างๆ ในรายวิชาสหกิจศึกษา.
Cooperative Education
ประสบการณ์การจัดสหกิจศึกษา
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
รายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2)
การจัดการความรู้ “ การพัฒนาคุณภาพงานสหกิจศึกษา ” การบ่งชี้ความรู้ การสร้างและแสวงหาความรู้ มีอยู่และ ถูกจัดเก็บไว้แล้ว มีอยู่แต่ยังไม่ถูก จัดเก็บอย่างเป็นระบบ.
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
แล การ นิ เทศงานและการ แก้ ไขปัญหา ในงานสหกิจศึกษา การ นิ เทศงานและการ แก้ ไขปัญหา ในงานสหกิจศึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อัจฉราพร โชติพฤกษ์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานมาตรฐานและบริการการศึกษา.
การแก้ไขปัญหาในงานสหกิจศึกษา
การยกระดับคุณภาพการศึกษา สู่การปฏิบัติ
การบริหารวิชาการและการเรียนการสอน
เพื่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร.พันธ์ ทองชุมนุม
การประชุมกลุ่มย่อยผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง สาขาการพยาบาลชุมชน
ประชุมคณาจารย์คณะครุศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 19 มิถุนายน 2557
มาตรฐานการดำเนินงานสหกิจศึกษา
วัตถุประสงค์ : ๑. เพื่อประชาสัมพันธ์ข่าวสาร ความเคลื่อนไหวภายในคณะศึกษาศาสตร์ แก่ คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนักศึกษา ๒. เพื่อเป็นสื่อกลางในการเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างคณาจารย์
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
แนวปฏิบัติและวิธีการ ขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการของคณาจารย์
 ความเคลื่อนไหวกระแสโลก  การเปิดเสรีการค้า การ ลงทุน  การเคลื่อนย้ายเงินทุนโดย เสรี  การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือ โดยเสรี  การศึกษาข้ามพรมแดน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาสหกิจศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา ดร.กัณทิมา ศิริจีระชัย อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมเคมี หัวหน้าโครงการสหกิจศึกษาและพัฒนาอาชีพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี www.sut.ac.th Suranaree University of Technology

สหกิจศึกษาต่างกับฝึกงาน ? นักศึกษาไปทำงานจริงเต็มเวลา 4 เดือน มีสถานภาพเหมือนลูกจ้างของบริษัท ปฏิบัติตามกฎระเบียบของบริษัท งานตรงกับสาขาวิชาชีพที่เรียน มีการประเมินจากพี่เลี้ยงอย่างมีระบบ มีการทำรายงานที่เป็นประโยชน์กับบริษัท ต้องจบภาคการศึกษาสุดท้ายที่มหาวิทยาลัย 1 http://coop.sut.ac.th Suranaree University of Technology

มหาวิทยาลัย: จะเริ่มต้นอย่างไร การปรับหลักสูตร ภาคการศึกษา การจัดการเรียน การสอน คุณสมบัตินักศึกษา (GPAX, ความประพฤติ) การเตรียมความพร้อมให้นักศึกษา นักศึกษาจะออกไปทำงานอะไร (ควรเรียนผ่านวิชาชีพที่สำคัญอะไรบ้าง) การเตรียมความพร้อมบุคลากร 2

ภาคสหกิจศึกษา 3 ชั้นปีที่ 1 ชั้นปีที่ 2 ชั้นปีที่ 3 ชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนสหกิจศึกษา (Co-op Ed. Term) ภาคเรียนปกติ Sep Aug Jul Jun Oct Apr Mar Feb Jan Dec Nov May ชั้นปีที่ 1 ชั้นปีที่ 2 ชั้นปีที่ 3 ชั้นปีที่ 4 Co-op Ed. 3 http://coop.sut.ac.th Suranaree University of Technology

การเตรียมความพร้อมให้นศ. ในภาคการศึกษาก่อนไปสหกิจศึกษา นศ.ต้องเข้าเรียนรายวิชาสหกิจศึกษา หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับสหกิจศึกษา ระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับสหกิจศึกษา ทักษะการเขียนจดหมายสมัครงาน การสมัครงานและการเลือกสถานประกอบการ เทคนิคการสัมภาษณ์งาน ความปลอดภัยในโรงงานและ 5ส การบริหารงานคุณภาพ, ISO 9001 เทคนิคการเขียนรายงานและการนำเสนอ การพัฒนาบุคลิกภาพ 4

นักศึกษาจะไปทำงานอะไร การเรียนรู้โดยใช้การทำงานจริงเป็นหลัก = Work-based learning จะเป็นงานประจำหรือโครงงาน ก็ได้ มทส. เน้นโครงงานพิเศษ หรืองานวิจัยขนาดเล็ก = Problem-based learning งานที่ทำ = Project work + Routine work น้ำหนักของงานอยู่ที่ Project 5

กระบวนการสหกิจศึกษา 1. ก่อนสหกิจศึกษา 2. ระหว่างสหกิจศึกษา 3. สิ้นสุดสหกิจศึกษา 6

ก่อนสหกิจศึกษา: มหาวิทยาลัย การเตรียมความพร้อมให้นักศึกษา (เก่งงาน และ เก่งคน) การจัดหางานคุณภาพ (โครงงาน เน้น Problem-based learning: PBL) การจับคู่ระหว่าง นักศึกษา-องค์กรผู้ใช้บัณฑิต ที่เหมาะสม 7

ก่อนสหกิจศึกษา: องค์กรผู้ใช้บัณฑิต การจัดหางานคุณภาพ (โครงงาน เน้น Problem-based learning: PBL) เป็นประโยชน์ต่อหน่วยงาน เกิดจากการระดมความคิดของแผนก ส่วนงาน การจัดให้มีพี่เลี้ยง จัดหาเครื่องมือ อุปกรณ์/ที่ทำงานที่เหมาะสม มีอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ค่าตอบแทนและสวัสดิการ 8

การหาองค์กรผู้ใช้บัณฑิต มหาวิทยาลัยต้องเป็นฝ่ายพัฒนาความสัมพันธ์ การพัฒนาความสัมพันธ์ให้แน่นแฟ้นและต่อยอด เริ่มต้นใช้เครือข่าย 9

ระหว่างสหกิจศึกษา พี่เลี้ยง-นศ. ร่วมกันวางแผนการทำงาน ส่งแผนกลับไปให้อาจารย์นิเทศ อาจารย์ไปนิเทศ ให้คำปรึกษาแก่ นศ./ประเมิน นศ. และ องค์กรผู้ใช้บัณฑิต ประชุมรายงานความก้าวหน้า ประชุมนำเสนอรายงานผลการศึกษาการทำโครงงานของ นศ. ณ องค์กรผู้ใช้บัณฑิต พี่เลี้ยงประเมินผลการทำงาน/รายงานของ นศ. 10

สิ้นสุดของกระบวนการสหกิจศึกษา มหาวิทยาลัยจัดให้มีการนำเสนอผลการศึกษาการทำโครงงานของ นศ. แยกตามสาขาวิชา เปิดโอกาสให้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่าง นศ.และคณาจารย์ ประเมินผลการนำเสนอ/ นศ.สหกิจศึกษาดีเด่น คณาจารย์ต้องเข้าร่วมกิจกรรม ส่งรายงานวิชาการ 11

12 บทบาทและภาระงาน อาจารย์ที่ปรึกษาสหกิจศึกษา การจัดหลักสูตรที่เหมาะสม หาและรับรองงานที่มีคุณภาพให้นักศึกษาประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยและสหกิจศึกษา ติดตามความคืบหน้าในการปฏิบัติงานของ นักศึกษาสหกิจศึกษา / นิเทศงาน ตรวจทานและให้คำแนะนำการเขียนรายงาน สหกิจศึกษาของนักศึกษา ร่วมสัมมนาและประเมินผลการปฏิบัติงานของนักศึกษาสหกิจศึกษาของสาขาวิชา 12 http://coop.sut.ac.th Suranaree University of Technology

13 บทบาทและภาระงาน พี่เลี้ยง กำหนดงานที่มีคุณภาพให้นักศึกษา กำกับ ให้คำแนะนำนักศึกษาในการปฏิบัติงาน ตรวจและให้คำแนะนำการเขียนรายงานสหกิจศึกษา /การนำเสนอ ของนักศึกษา จัดหาอุปกรณ์ เครื่องมือและสถานที่ทำงานที่เหมาะสมให้นักศึกษา ประเมินผลการปฏิบัติงานของนักศึกษาสหกิจศึกษาของสาขาวิชา 13 http://coop.sut.ac.th Suranaree University of Technology

การดำเนินงาน 14 จัดหางาน/รับรองงาน Suranaree University of Technology 14 http://coop.sut.ac.th จัดหางาน/รับรองงาน จับคู่ระหว่าง นศ. และ องค์กรผู้ใช้บัณฑิต จัดทำจดหมายส่งตัว นศ. นิเทศในช่วงเวลาที่เหมาะสม/ติดตามการทำงาน จัดกิจกรรมหลังกลับ ประเมินผลโดยสาขาวิชา ภาคก่อนไป นศ. ลงเรียนวิชาPre co-op นศ. อยู่ที่ องค์กรผู้ใช้บัณฑิต ที่มหาวิทยาลัย คณาจารย์ควรมีส่วนร่วม

Key Success Factors ผู้บริหารสูงสุดให้การสนับสนุนทั้งทางด้านนโยบายและทรัพยากร คณาจารย์ต้องเข้าใจและทุ่มเท (จัดการหลักสูตร/ประชาสัมพันธ์/หางาน/นิเทศ) มีการเตรียมความพร้อมให้นักศึกษา ความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง งานที่ให้นักศึกษาปฏิบัติต้องมีคุณภาพ (PBL, ตรงตามสาขาวิชาชีพ) 15 Suranaree University of Technology http://coop.sut.ac.th

Key Success Factors ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เช่น อาจารย์ นักศึกษา พี่เลี้ยง ผู้ประสานงาน (เจ้าหน้าที่สหกิจศึกษา นักวิชาการสหกิจศึกษา) ต้องเข้าใจบทบาทของตนเอง มีหน่วยงานกลาง (ระดับคณะ หรือ มหาวิทยาลัย) รับผิดชอบชัดเจน จัดสร้างเครือข่ายความร่วมมือ มีระบบประกันคุณภาพ / ประเมินที่เหมาะสม 16 Suranaree University of Technology http://coop.sut.ac.th

การพัฒนาสหกิจศึกษา 17 การพัฒนางานคุณภาพ ทีม (นศ.+ นศ., อาจารย์+นศ. เอก โท ตรี) สหสาขาวิชา นานาชาติ งานวิจัยสหกิจศึกษา การเตรียมความพร้อมให้ นศ. 17 Suranaree University of Technology http://coop.sut.ac.th

http://coop.sut.ac.th 18 Cooperative Education & Career Development Project http://coop.sut.ac.th 18 Suranaree University of Technology

สมาคมสหกิจศึกษาไทย 19 นิติบุคคล ดำเนินงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสหกิจศึกษาตามที่ สกอ. กำหนด (หน่วยงานกลาง การสร้างความรู้ความเข้าใจ การช่วยเหลือให้ทั้งสถาบันอุดมศึกษาและองค์กรผู้ใช้บัณฑิตดำเนินการสหกิจศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพเครือข่าย แลกเปลี่ยนความรู้ ฯ) 19 http://coop.sut.ac.th Suranaree University of Technology

สมาคมสหกิจศึกษาไทย สมัครสมาชิก (สถาบันและบุคคล) ได้ที่ sadom11@yahoo.com ผศ.เพ็ญศรี 089 719 4977 ดร.อลงกต 081 718 0784 20 http://coop.sut.ac.th Suranaree University of Technology

กรณีศึกษา การดำเนินงานสหกิจศึกษาของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีเตรียมความพร้อม มีการจัดตั้งหน่วยงานกลางของ มทส. 21

1. การเตรียมความพร้อมนักศึกษา ชั้นปีที่ 1 “ใครอยากเก่ง ต้องฟัง” ชั้นปีที่ 2 ปฐมนิเทศสหกิจศึกษา ชั้นปีที่ 3 มัชฌิมนิเทศสหกิจศึกษา ชันปีที่ 4 เตรียมสหกิจศึกษา/ สหกิจศึกษา ปัจฉิมนิเทศสหกิจศึกษา 22

2. การเตรียมความพร้อม ในภาคการศึกษาก่อนไปสหกิจศึกษา นศ.ต้องเข้าเรียนรายวิชาสหกิจศึกษา หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับสหกิจศึกษา ระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับสหกิจศึกษา ทักษะการเขียนจดหมายสมัครงาน การสมัครงานและการเลือกสถานประกอบการ เทคนิคการสัมภาษณ์งาน ความปลอดภัยในโรงงานและ 5ส การบริหารงานคุณภาพ, ISO 9001 เทคนิคการเขียนรายงานและการนำเสนอ การพัฒนาบุคลิกภาพ 23

3. การจับคู่ระหว่างนักศึกษาและองค์กรผู้ใช้บัณฑิต ประกาศงาน ตำแหน่งงาน (รายละเอียดลักษณะงาน) ที่บอร์ดของโครงการ (โครงการร่วมกับคณาจารย์ในสาขาวิชาจัดหางานที่มีคุณภาพให้กับ นศ. สาขาวิชาต้องให้การรับรองงาน) รับใบสมัครงาน นัดหมายการสัมภาษณ์และประกาศผลการคัดเลือก 24

4. นักศึกษาไปทำงาน มีการติดต่อกันระหว่าง นศ., สาขาวิชา และโครงการฯ ตลอด ให้คำแนะนำ เป็นที่ปรึกษาปัญหาเรื่องงาน การปรับตัว (ทางด้านวิชาการ-สาขาวิชาจะดูแล) 25

5. การนิเทศงานสหกิจศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษาสหกิจศึกษาเดินทางนิเทศงานนักศึกษาทุกคนในระหว่างการปฏิบัติงาน อย่างน้อย 1 ครั้ง เพื่อ - ช่วยเหลือนักศึกษาทั้งในด้านวิชาการ และการปรับตัวสู่สังคมทำงาน - สร้างความรู้ ความเข้าใจในระบบสหกิจศึกษาให้สถานประกอบการ - แลกเปลี่ยนประสบการณ์กับสถานประกอบการ - แสวงหาความร่วมมือทางวิชาการ 26

6. กิจกรรมภายหลังการปฏิบัติงาน นศ. เข้ารับการสัมภาษณ์โดยคณาจารย์ในสาขาวิชา สัมมนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างนศ.ที่ปฏิบัติงานสหกิจศึกษา โดยอยู่ในความควบคุมดูแลของอาจารย์ที่ปรึกษาสหกิจศึกษาของสาขาวิชา จัดนิทรรศการแสดงผลการปฏิบัติงาน (Poster Session) ส่งรายงานวิชาการ 27

7. การประเมินผล 28 นศ.เข้าร่วมกิจกรรมสหกิจศึกษาครบถ้วน ผลการประเมินจากพนักงานที่ปรึกษา การสัมภาษณ์หลังการปฏิบัติงาน การสัมมนา ผลประเมินจากอาจารย์ที่ปรึกษาสหกิจศึกษาประจำสาขาวิชาขณะนิเทศ ผลการประเมินจากรายงานวิชาการ ผลการประเมิน ผ่าน (S) หรือ ไม่ผ่าน (U) 28