การพัฒนาสหกิจศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา ดร.กัณทิมา ศิริจีระชัย อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมเคมี หัวหน้าโครงการสหกิจศึกษาและพัฒนาอาชีพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี www.sut.ac.th Suranaree University of Technology
สหกิจศึกษาต่างกับฝึกงาน ? นักศึกษาไปทำงานจริงเต็มเวลา 4 เดือน มีสถานภาพเหมือนลูกจ้างของบริษัท ปฏิบัติตามกฎระเบียบของบริษัท งานตรงกับสาขาวิชาชีพที่เรียน มีการประเมินจากพี่เลี้ยงอย่างมีระบบ มีการทำรายงานที่เป็นประโยชน์กับบริษัท ต้องจบภาคการศึกษาสุดท้ายที่มหาวิทยาลัย 1 http://coop.sut.ac.th Suranaree University of Technology
มหาวิทยาลัย: จะเริ่มต้นอย่างไร การปรับหลักสูตร ภาคการศึกษา การจัดการเรียน การสอน คุณสมบัตินักศึกษา (GPAX, ความประพฤติ) การเตรียมความพร้อมให้นักศึกษา นักศึกษาจะออกไปทำงานอะไร (ควรเรียนผ่านวิชาชีพที่สำคัญอะไรบ้าง) การเตรียมความพร้อมบุคลากร 2
ภาคสหกิจศึกษา 3 ชั้นปีที่ 1 ชั้นปีที่ 2 ชั้นปีที่ 3 ชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนสหกิจศึกษา (Co-op Ed. Term) ภาคเรียนปกติ Sep Aug Jul Jun Oct Apr Mar Feb Jan Dec Nov May ชั้นปีที่ 1 ชั้นปีที่ 2 ชั้นปีที่ 3 ชั้นปีที่ 4 Co-op Ed. 3 http://coop.sut.ac.th Suranaree University of Technology
การเตรียมความพร้อมให้นศ. ในภาคการศึกษาก่อนไปสหกิจศึกษา นศ.ต้องเข้าเรียนรายวิชาสหกิจศึกษา หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับสหกิจศึกษา ระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับสหกิจศึกษา ทักษะการเขียนจดหมายสมัครงาน การสมัครงานและการเลือกสถานประกอบการ เทคนิคการสัมภาษณ์งาน ความปลอดภัยในโรงงานและ 5ส การบริหารงานคุณภาพ, ISO 9001 เทคนิคการเขียนรายงานและการนำเสนอ การพัฒนาบุคลิกภาพ 4
นักศึกษาจะไปทำงานอะไร การเรียนรู้โดยใช้การทำงานจริงเป็นหลัก = Work-based learning จะเป็นงานประจำหรือโครงงาน ก็ได้ มทส. เน้นโครงงานพิเศษ หรืองานวิจัยขนาดเล็ก = Problem-based learning งานที่ทำ = Project work + Routine work น้ำหนักของงานอยู่ที่ Project 5
กระบวนการสหกิจศึกษา 1. ก่อนสหกิจศึกษา 2. ระหว่างสหกิจศึกษา 3. สิ้นสุดสหกิจศึกษา 6
ก่อนสหกิจศึกษา: มหาวิทยาลัย การเตรียมความพร้อมให้นักศึกษา (เก่งงาน และ เก่งคน) การจัดหางานคุณภาพ (โครงงาน เน้น Problem-based learning: PBL) การจับคู่ระหว่าง นักศึกษา-องค์กรผู้ใช้บัณฑิต ที่เหมาะสม 7
ก่อนสหกิจศึกษา: องค์กรผู้ใช้บัณฑิต การจัดหางานคุณภาพ (โครงงาน เน้น Problem-based learning: PBL) เป็นประโยชน์ต่อหน่วยงาน เกิดจากการระดมความคิดของแผนก ส่วนงาน การจัดให้มีพี่เลี้ยง จัดหาเครื่องมือ อุปกรณ์/ที่ทำงานที่เหมาะสม มีอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ค่าตอบแทนและสวัสดิการ 8
การหาองค์กรผู้ใช้บัณฑิต มหาวิทยาลัยต้องเป็นฝ่ายพัฒนาความสัมพันธ์ การพัฒนาความสัมพันธ์ให้แน่นแฟ้นและต่อยอด เริ่มต้นใช้เครือข่าย 9
ระหว่างสหกิจศึกษา พี่เลี้ยง-นศ. ร่วมกันวางแผนการทำงาน ส่งแผนกลับไปให้อาจารย์นิเทศ อาจารย์ไปนิเทศ ให้คำปรึกษาแก่ นศ./ประเมิน นศ. และ องค์กรผู้ใช้บัณฑิต ประชุมรายงานความก้าวหน้า ประชุมนำเสนอรายงานผลการศึกษาการทำโครงงานของ นศ. ณ องค์กรผู้ใช้บัณฑิต พี่เลี้ยงประเมินผลการทำงาน/รายงานของ นศ. 10
สิ้นสุดของกระบวนการสหกิจศึกษา มหาวิทยาลัยจัดให้มีการนำเสนอผลการศึกษาการทำโครงงานของ นศ. แยกตามสาขาวิชา เปิดโอกาสให้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่าง นศ.และคณาจารย์ ประเมินผลการนำเสนอ/ นศ.สหกิจศึกษาดีเด่น คณาจารย์ต้องเข้าร่วมกิจกรรม ส่งรายงานวิชาการ 11
12 บทบาทและภาระงาน อาจารย์ที่ปรึกษาสหกิจศึกษา การจัดหลักสูตรที่เหมาะสม หาและรับรองงานที่มีคุณภาพให้นักศึกษาประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยและสหกิจศึกษา ติดตามความคืบหน้าในการปฏิบัติงานของ นักศึกษาสหกิจศึกษา / นิเทศงาน ตรวจทานและให้คำแนะนำการเขียนรายงาน สหกิจศึกษาของนักศึกษา ร่วมสัมมนาและประเมินผลการปฏิบัติงานของนักศึกษาสหกิจศึกษาของสาขาวิชา 12 http://coop.sut.ac.th Suranaree University of Technology
13 บทบาทและภาระงาน พี่เลี้ยง กำหนดงานที่มีคุณภาพให้นักศึกษา กำกับ ให้คำแนะนำนักศึกษาในการปฏิบัติงาน ตรวจและให้คำแนะนำการเขียนรายงานสหกิจศึกษา /การนำเสนอ ของนักศึกษา จัดหาอุปกรณ์ เครื่องมือและสถานที่ทำงานที่เหมาะสมให้นักศึกษา ประเมินผลการปฏิบัติงานของนักศึกษาสหกิจศึกษาของสาขาวิชา 13 http://coop.sut.ac.th Suranaree University of Technology
การดำเนินงาน 14 จัดหางาน/รับรองงาน Suranaree University of Technology 14 http://coop.sut.ac.th จัดหางาน/รับรองงาน จับคู่ระหว่าง นศ. และ องค์กรผู้ใช้บัณฑิต จัดทำจดหมายส่งตัว นศ. นิเทศในช่วงเวลาที่เหมาะสม/ติดตามการทำงาน จัดกิจกรรมหลังกลับ ประเมินผลโดยสาขาวิชา ภาคก่อนไป นศ. ลงเรียนวิชาPre co-op นศ. อยู่ที่ องค์กรผู้ใช้บัณฑิต ที่มหาวิทยาลัย คณาจารย์ควรมีส่วนร่วม
Key Success Factors ผู้บริหารสูงสุดให้การสนับสนุนทั้งทางด้านนโยบายและทรัพยากร คณาจารย์ต้องเข้าใจและทุ่มเท (จัดการหลักสูตร/ประชาสัมพันธ์/หางาน/นิเทศ) มีการเตรียมความพร้อมให้นักศึกษา ความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง งานที่ให้นักศึกษาปฏิบัติต้องมีคุณภาพ (PBL, ตรงตามสาขาวิชาชีพ) 15 Suranaree University of Technology http://coop.sut.ac.th
Key Success Factors ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เช่น อาจารย์ นักศึกษา พี่เลี้ยง ผู้ประสานงาน (เจ้าหน้าที่สหกิจศึกษา นักวิชาการสหกิจศึกษา) ต้องเข้าใจบทบาทของตนเอง มีหน่วยงานกลาง (ระดับคณะ หรือ มหาวิทยาลัย) รับผิดชอบชัดเจน จัดสร้างเครือข่ายความร่วมมือ มีระบบประกันคุณภาพ / ประเมินที่เหมาะสม 16 Suranaree University of Technology http://coop.sut.ac.th
การพัฒนาสหกิจศึกษา 17 การพัฒนางานคุณภาพ ทีม (นศ.+ นศ., อาจารย์+นศ. เอก โท ตรี) สหสาขาวิชา นานาชาติ งานวิจัยสหกิจศึกษา การเตรียมความพร้อมให้ นศ. 17 Suranaree University of Technology http://coop.sut.ac.th
http://coop.sut.ac.th 18 Cooperative Education & Career Development Project http://coop.sut.ac.th 18 Suranaree University of Technology
สมาคมสหกิจศึกษาไทย 19 นิติบุคคล ดำเนินงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสหกิจศึกษาตามที่ สกอ. กำหนด (หน่วยงานกลาง การสร้างความรู้ความเข้าใจ การช่วยเหลือให้ทั้งสถาบันอุดมศึกษาและองค์กรผู้ใช้บัณฑิตดำเนินการสหกิจศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพเครือข่าย แลกเปลี่ยนความรู้ ฯ) 19 http://coop.sut.ac.th Suranaree University of Technology
สมาคมสหกิจศึกษาไทย สมัครสมาชิก (สถาบันและบุคคล) ได้ที่ sadom11@yahoo.com ผศ.เพ็ญศรี 089 719 4977 ดร.อลงกต 081 718 0784 20 http://coop.sut.ac.th Suranaree University of Technology
กรณีศึกษา การดำเนินงานสหกิจศึกษาของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีเตรียมความพร้อม มีการจัดตั้งหน่วยงานกลางของ มทส. 21
1. การเตรียมความพร้อมนักศึกษา ชั้นปีที่ 1 “ใครอยากเก่ง ต้องฟัง” ชั้นปีที่ 2 ปฐมนิเทศสหกิจศึกษา ชั้นปีที่ 3 มัชฌิมนิเทศสหกิจศึกษา ชันปีที่ 4 เตรียมสหกิจศึกษา/ สหกิจศึกษา ปัจฉิมนิเทศสหกิจศึกษา 22
2. การเตรียมความพร้อม ในภาคการศึกษาก่อนไปสหกิจศึกษา นศ.ต้องเข้าเรียนรายวิชาสหกิจศึกษา หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับสหกิจศึกษา ระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับสหกิจศึกษา ทักษะการเขียนจดหมายสมัครงาน การสมัครงานและการเลือกสถานประกอบการ เทคนิคการสัมภาษณ์งาน ความปลอดภัยในโรงงานและ 5ส การบริหารงานคุณภาพ, ISO 9001 เทคนิคการเขียนรายงานและการนำเสนอ การพัฒนาบุคลิกภาพ 23
3. การจับคู่ระหว่างนักศึกษาและองค์กรผู้ใช้บัณฑิต ประกาศงาน ตำแหน่งงาน (รายละเอียดลักษณะงาน) ที่บอร์ดของโครงการ (โครงการร่วมกับคณาจารย์ในสาขาวิชาจัดหางานที่มีคุณภาพให้กับ นศ. สาขาวิชาต้องให้การรับรองงาน) รับใบสมัครงาน นัดหมายการสัมภาษณ์และประกาศผลการคัดเลือก 24
4. นักศึกษาไปทำงาน มีการติดต่อกันระหว่าง นศ., สาขาวิชา และโครงการฯ ตลอด ให้คำแนะนำ เป็นที่ปรึกษาปัญหาเรื่องงาน การปรับตัว (ทางด้านวิชาการ-สาขาวิชาจะดูแล) 25
5. การนิเทศงานสหกิจศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษาสหกิจศึกษาเดินทางนิเทศงานนักศึกษาทุกคนในระหว่างการปฏิบัติงาน อย่างน้อย 1 ครั้ง เพื่อ - ช่วยเหลือนักศึกษาทั้งในด้านวิชาการ และการปรับตัวสู่สังคมทำงาน - สร้างความรู้ ความเข้าใจในระบบสหกิจศึกษาให้สถานประกอบการ - แลกเปลี่ยนประสบการณ์กับสถานประกอบการ - แสวงหาความร่วมมือทางวิชาการ 26
6. กิจกรรมภายหลังการปฏิบัติงาน นศ. เข้ารับการสัมภาษณ์โดยคณาจารย์ในสาขาวิชา สัมมนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างนศ.ที่ปฏิบัติงานสหกิจศึกษา โดยอยู่ในความควบคุมดูแลของอาจารย์ที่ปรึกษาสหกิจศึกษาของสาขาวิชา จัดนิทรรศการแสดงผลการปฏิบัติงาน (Poster Session) ส่งรายงานวิชาการ 27
7. การประเมินผล 28 นศ.เข้าร่วมกิจกรรมสหกิจศึกษาครบถ้วน ผลการประเมินจากพนักงานที่ปรึกษา การสัมภาษณ์หลังการปฏิบัติงาน การสัมมนา ผลประเมินจากอาจารย์ที่ปรึกษาสหกิจศึกษาประจำสาขาวิชาขณะนิเทศ ผลการประเมินจากรายงานวิชาการ ผลการประเมิน ผ่าน (S) หรือ ไม่ผ่าน (U) 28