บทที่ 4 การศึกษาตนเอง By chotika thamviset
สร้างความเข้าใจตนเอง ศึกษาตนเอง จุดยืนแห่งชีวิต การเห็นคุณค่าแห่งตน กลไกการป้องกันตนเอง อัตมโนทัศน์ By chotika thamviset
อัตมโนทัศน์ ทายสิใครคือตัวจริง
ตนที่มองเห็น ตนที่เป็นจริง
และ..... ตนที่อยากเป็น
Self concept : เป็นความจริงของ บุคคลที่เกิดขึ้น สรุปอัตมโนทัศน์ Self concept : เป็นความจริงของ บุคคลที่เกิดขึ้น Ideal concept : ตนที่อยากจะเป็น Perceived concept : ตามการ มองเห็น ตามการรับรู้
ความสอดคล้องของ Self concept และIdeal concept ปรับตัวได้ดี ปรับตัวลำบาก Self concept Ideal concept Self concept
จุดยืนแห่งชีวิต (Life position) Berne,1961 : จุดยืนของชีวิตส่งผลต่อการมอง โลกและบุคลิกภาพโดยรวม I am ok , you are not ok
I am not ok You are
I am ok You are ok
กลไกลการป้องกันตนเอง 1 ไม่ใช่การแก้ไขปัญหา 2 เป็นการตัวเข้ากับสถานการณ์ 3 ลดความเครียด
กลไกรการป้องกันตนเอง ตามทฤษฎี ฟรอยด์ ปฏิเสธ หลีกเลี่ยงไม่เผชิญ
ฝันกลางวัน หาตัวแทน
ชดเชย ทดแทน
เลียนแบบตามคนที่พึงพอใจ ปรักปรำตนเอง รับผิดไว้เองตลอดเวลา
ตำหนิสิ่งอื่นหรือผู้อื่น โยนความผิดให้สิ่งอื่นหรือคนอื่น อ้างเหตุผล สิ่งที่ตนเองทำดีที่สุดทั้งที่อาจไม่ชอบ องุ่นเปรี้ยวมะนาวหวาน
ลดความวิตกโดยเปลี่ยนเป้าหมายที่อันตรายน้อยกว่า เก็บกด เก็บสิ่งที่ไม่สบายใจโดยไม่นึกถึงมัน ย้ายแหล่ง ลดความวิตกโดยเปลี่ยนเป้าหมายที่อันตรายน้อยกว่า
หลีกเลี่ยงตนเองจากสังคม แยกตัว หลีกเลี่ยงตนเองจากสังคม
พฤติกรรมกลับไปเป็นเด็กเมื่อคับข้องใจ ถดถอย พฤติกรรมกลับไปเป็นเด็กเมื่อคับข้องใจ
การเห็นคุณค่าในตนเอง Self-Esteem คนที่เห็นคุณค่าในตนเองสูง มีอนาคต เชื่อมันในตนเอง บริหารจัดการได้เหมาะสม เรียนรู้และยอมรับคนอื่ ให้และรับความช่วยเหลือจากคนอื่น จัดการกับปัญหา
การเห็นคุณค่าในตนเอง Self-Esteem คนที่เห็นคุณค่าในตนเองต่ำ ล้มแล้วผิดหวัง มีบุคลิกแบบทำลาย ไม่มีมนุษยสัมพันธ์ ให้สิ่งอื่นควบคุม
สรุปการเห็นคุณค่าแห่งตน แบบเห็นคุณค่าในตนเองสูง พูดกับตนเชิงบวก ผลสัมฤทธิ์สูง มีความเชื่อมั่นในตนเอง สัมพันธภาพดี รับรู้ตนเอง ผู้อื่น เชิงบวก
สรุปการเห็นคุณค่าแห่งตน แบบเห็นคุณค่าในตนเองต่ำ พูดกับตนเชิงลบ ผลสัมฤทธิ์ต่ำ ขาดความเชื่อมั่นในตนเอง สัมพันธภาพไม่ดี รับรู้ตนเอง ผู้อื่น เชิงลบ
วิธีการศึกษาบุคคลทางจิตวิทยา การประเมินพฤติกรรมและวิเคราะห์พฤติกรรม จากประวัติการพัฒนาและผลงาน
การประเมินพฤติกรรมและวิเคราะห์พฤติกรรม ประเมินพฤติกรรมทางตรง : สังเกตบันทึกพฤติกรรม ตนเอง/ผู้อื่น วัดผลทางการกระทำ /ผลจากการเรียนรู้ วัดผลทางจิตสรีระ/การ เปลี่ยนทางร่างกายมีผลต่อจิต ประเมินพฤติกรรมทางอ้อม : เกี่ยวกับอารมณ์ความรู้ ความคิด โดย การสัมภาษณ์ รายงานตนเอง เช่นแบบสอบถาม แบบทดสอบ การ วิเคราะห์ตนเอง จะดีสำหรับคนที่ต้องการเข้าใจตนเอง เป็นพฤติกรรม ตามการรับรู้
The End แท้ที่จริงแล้ว เรามีความทุกข์ คนอื่นเขาก็มีความทุกข์ เพียงแต่เขาไม่ได้ บอก ว่า เขามีทุกข์ การมีทุกข์ จึงเป็นเรื่องธรรมดาของคน.