การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บูรณาการสู่ความสำเร็จ
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
กรมอนามัยยุคใหม่... ก้าวข้ามบริบทที่เปลี่ยนแปลง... แล้วไง?
รายงานผลการเยี่ยมพื้นที่ กิจกรรม R2 กีฬาสัมพันธ์ต้านยาเสพติด วันที่ 14 เมษายน 2555 ณ บ้านปะตาบาระ หมู่ 1 ตำบลปะเสยะวอ อ.สายบุรี จ.ปัตตานี
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการ จัดระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคกลาง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เครือข่ายภาคประชาชน มีความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้อง.
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
แหล่งผลิตข้าวหอมมะลิ
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
การเฝ้าระวังเหตุการณ์ในชุมชน
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance )
จังหวัดนครปฐม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
หลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล
ไข้เลือดออก.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
การดำเนินงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืน จังหวัดน่าน
ความท้าทาย....ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
สถานการณ์โรคที่สำคัญ ในเขตบริการสุขภาพที่ 11
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ สถานศึกษา ที่ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน.
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่ นาง ปรารถนา ถาวรวงศ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลท่ายาง

วางแผน ดำเนินการ ติดตาม ประเมินผล ขยายเครือข่าย นำระบาดวิทยาไปใช้การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่ได้อย่างไร? วางแผน ดำเนินการ ติดตาม ประเมินผล ขยายเครือข่าย

บริบทโรงพยาบาลท่ายาง โรงพยาบาลท่ายาง เป็นโรงพยาบาล ชุมชน 60 เตียง ตั้งอยู่ที่หมู่ 1 ต. ท่ายาง อ. ท่ายาง จ. เพชรบุรี มี เขตรับผิดชอบเป็นพื้นที่ขุมขนเมือง กึ่งชนบทจำนวน 5 หมู่บ้าน 12 ชุมชน มีประชากร 11,350 คน ส่วนใหญ่มีอาขีพค้าขาย รองลงมา คือ เกษตรกรรม และรับจ้าง

ข้อมูลสุขภาพ ร้านขายยา 6 แห่ง ปัญหาโรคและภัยสุขภาพได้แก่ พิษจากสารเคมี กำจัดศัตรูพืช อุบัติเหตุจราจร จมน้ำ โรคไข้เลือดออก อาหารเป็นพิษ สุกใส และ มือเท้าปากเป็นต้น มีโรงพยาบาลชุมชน 1 โรง คลินิก 13 แห่ง ร้านขายยา 6 แห่ง

การดำเนินงาน ( กิจกรรม ) การดำเนินงาน ( กิจกรรม ) ประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งแรกในปี 53 จัดทำแผนที่เดินดินทุกชุมชน จัดทำทะเบียนเครือข่าย ประกอบด้วย ชื่อ-สกุล ที่อยู่ (ชุมชน) ประเภทของสมาชิก เบอร์โทรศัพท์ E-mail Line

การติดตามและประเมินผล มีการติดตามและประเมินผลการแจ้งข่าว โดยใช้ การประชุม อสม. โทรศัพท์ E-mail face book Line และการลงพื้นที่ มีการสัมมนาเครือข่ายปีละ 1 ครั้ง มีการประชุมติดตาม ปีละ 2 ครั้งเป็นอย่างน้อย

การขยายเครือข่าย ปี2553 - 2556 2553 2554 2555 2556 โรงพยาบาล เทศบาล ผู้นำชุมชน อสม. ครู สื่อมวลชน คลินิก เครือข่ายนอกพื้นที่ ศูนย์เด็กเล็ก ร้านขายยา ร้านเสริมสวย วัด ร้านชำ ร้านอาหาร ห้างโลตัส โรงงาน สหกรณ์การเกษตร

กางแผนที่ดู ชี้จุด ทะเบียนรายงาน เหตุการณ์จากชุมชน

ติดตามเครือข่ายห้างโลตัสและโรงงานเอเชี่ยนฟีด

เกณฑ์การแจ้งข่าว จากโรงพยาบาล สู่ชุมชน เกณฑ์การแจ้งข่าว จากโรงพยาบาล สู่ชุมชน แจ้งข่าวเครือข่ายทุกคนทราบเมื่อมีโรคที่ต้องเฝ้าระวัง เมี่อมีผู้ป่วยด้วยโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา แจ้งเทศบาลตำบลท่ายาง และอสม. ผู้รับผิดชอบพื้นที่ ทุกราย แจ้งโรงเรียน สถานประกอบการ ทราบเมื่อเป็น case จากโรงเรียน หรือสถานประกอบการนั้นๆ

โอกาสพัฒนา นำอุปกรณ์สื่อสารมาใช้ในการเก็บข้อมูลให้มี ประสิทธิภาพมากขึ้น มีสายด่วนแจ้งข่าวโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย มีศูนย์เฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพในชุมชน พัฒนาเครือข่ายรองรับ AEC

ผลการดำเนินงาน มีการแจ้งข่าวผู้ป่วยที่รับการรักษา จากคลินิก โรงพยาบาล เอกชนและซื้อยาทานเอง สามารถควบคุมโรคได้สงบ โดยยังไม่เข้าสู่ระบบโรงพยาบาล เช่น การแจ้งข่าวโรคมือ เท้า ปาก จากชุมชนท่าพุ่งในปี 2553และชุมชนระหานบอน ในปี 2555 การแจ้งข่าวระบาดโรคสุกใส ในโรงเรียนเบญจมเทพอุทิศจังหวัดเพชรบุรี ในปี 2554 และ โรงเรียนคุมองต์ ในปี 2555 มีความตื่นตัวในการเฝ้าระวังโรค เช่น การรับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ การดำเนินงานควบคุมโรคของเทศบาล โรงเรียน และ โรงงาน -

อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกและอุจจาระร่วง ปี 2554-2556

ปัญหาอุปสรรคที่พบ เครือข่าย ประชากรส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นชุมชนเมือง เครือข่ายไม่เห็นความสำคัญของการแจ้งข่าว มีการเปลี่ยนแปลงของบุคลากรใน เครือข่าย ประชากรส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นชุมชนเมือง - 14

โอกาสพัฒนา นำอุปกรณ์สื่อสารมาใช้ในการเก็บข้อมูลให้มี ประสิทธิภาพมากขึ้น มีสายด่วนแจ้งข่าวโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย มีศูนย์เฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพในชุมชน พัฒนาเครือข่ายรองรับ AEC

ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ผู้บริหารให้การสนับสนุน มีการใช้ทรัพยากรในพื้นที่ให้เกิดประโยชน์ การติดตามและประเมินผล การดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง การประสานงานที่ดี การให้ข้อมูลข่าวสาร และการให้ความ ร่วมมือจากทุกภาคส่วน

สวัสดีค่ะ