เก็บตก เก็บไปคิด ...

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
Advertisements

วัตถุประสงค์ พัฒนาองค์ความรู้การดำเนินงาน คบส.ให้กับ อสม. และเครือข่ายในชุมชน เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งให้กับเครือข่ายชุมชนที่ดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับชุมชน.
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
หลักการพัฒนา หลักสูตร
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
Knowledge Management (KM)
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ห้องเรียนแห่งการเปลี่ยนแปลง
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การกำหนดและการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ด้านอาหารและ โภชนาการ
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
โรงเรียน อสม. ตำบลหนองไม้แก่น อ.แปลงยาว จ.ฉะเชิงเทรา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การวิจัยกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
1 การจับความรู้ที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม ของทีมทำงานรวมทั้งทบทวนและสะท้อน บทเรียนนำไปสู่การวางแผนต่อไป การให้ข้อมูลป้อนกลับอย่างเป็นระบบกับ ทีมงานในเรื่องผลการปฏิบัติ
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
วิทยาศาสตร์ในสังคมกับการจัดการความรู้
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
รวบรวม /ปรับปรุง/เสริมแต่ง
การดำเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบบูรณาการ สู่
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
แนวทางการพัฒนาคลินิก DPAC
การลดต้นทุนการผลิตพืช ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ทีม นำ “ การนำที่มั่นคง และยั่งยืน ”. “ บางครั้ง การยอมถอยซักก้าว เราจะเห็นทะเลที่ใหญ่ และท้องฟ้าที่สดใสกว่าเดิม ”
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
สรุปการประชุม F.S.C เขตบริการสุขภาพที่ 2
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
การดักจับความรู้ด้วยเครื่องมือ “AAR”
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
เก็บตกคำถามจาก สมศ..
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เก็บตก เก็บไปคิด ..

เครือข่าย ผล ประเมินผล มีแผนบูรณาการ (สู่งานปกติ) มีนวตกรรมใหม่ๆ Goal - มีเจ้าภาพ แนวร่วมใหม่ๆ - คนทำงานปรับทัศนะ และ วิธีทำงาน + ค่านิยมร่วม - มีแหล่งทุนเพิ่ม มีแผนบูรณาการ (สู่งานปกติ) มีนวตกรรมใหม่ๆ (CoP ต่างๆ) ปัญหาลดลง มีการขยายผล สู่นโยบาย เครือข่าย นโยบาย มาตรฐาน ผล P D A C จัดการเครือข่าย เสริมพลัง (synergy) ดำเนินการ บูรณาการ ประเมินผล สรุปบทเรียน เสริมสมรรถนะ ให้ทีมงาน empowerment จัดการความรู้ จัดการข้อมูล (วิเคราะห์ปัญหา/สาเหตุ) การจัดการกลยุทธ์ การบูรณาการ สร้างนวตกรรม CoP ติดตาม / coaching การสรุปบทเรียน ถอดบทเรียน Best practice + mistake เชื่อมนโยบาย

เก็บตก .. มองหาประเด็นสำคัญ (หัวใจ) แต่ละกิจกรรม กิจกรรมหลัก ประเด็นสำคัญ จัดเตรียม (บริหารความเสี่ยง) ทีมงาน – เครือข่าย (เชื่อม / พัฒนา) ค้นหา .. สิ่งดีๆ (ต่อยอด) ได้ตัวจริงเข้าทำงาน เชิงรุก (สัมภาษณ์) เชิญมาบรรยาย กระบวนการมีส่วนร่วม วิเคราะห์ นำเสนอข้อมูลสภาพปัญหา มีข้อมูลที่ดี , สะท้อนปัญหา/สาเหตุ ชี้เป้า , ทำนายอนาคต นำเสนอได้ surprise + sexy CoP และ การเคลื่อนนโยบายสาธารณะ พบปะ + เรียนรู้สม่ำเสมอ เช่น AAR เคลื่อนสื่อมวลชน .. สื่อชุมชน , เวทีสื่อ Press tour Policy dialogue.. ไม่เป็นทางการ ( site visit, จิบน้ำชา)

วงจรการเรียนรู้ .. แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning : PL) โลกทฤษฎี โลกชีวิตจริง / บริบท อยากกลับไปทำอะไร ปรับวิธีการทำงานใหม่ ศึกษาเพิ่มเติม ฯลฯ (วิธีการทำงาน – ใหม่) ประสบการณ์ การทำงานจริง กระตุ้น feeling + Thinking ความประทับใจ (คุณค่าใหม่) สิ่งที่ได้เรียนรู้ (วิธีคิดใหม่) ชวนคุย + ชวนคิด ความสนใจ+จุดเด่น > เกณฑ์ Tacit k. > Explicit k. Informal > formal dialogue > discussion

บทเรียน .. เส้นทางการพัฒนา แบบมีส่วนร่วม - ยั่งยืน ปัญหาเชิง โครงสร้าง นวตกรรม ผล ภาคประชาคม ภาคี/เครือข่าย แผนงาน โครงการ นโยบาย แกนนำ Human mapping ทีม / node เครือข่าย networking P D A C ขับเคลื่อน เชื่อมโยง สู่ .. นโยบาย สรุปบทเรียน Act ถอดบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ จัดการความรู้ สู่การปฏิบัติ

ทฤษฎีสามเหลี่ยมเขยื้อนภูเขา นพ.ประเวศ วะสี ปัญหา .. เชิงโครงสร้าง ภาคี/เครือข่าย ภาคประชาสังคม นโยบาย มาตรการ จัดการ ความรู้ ประเมินผล สรุป บทเรียน (การเรียนรู้)

เครือข่าย ผล ดำเนินการ เสริมพลังทีม สรุปบทเรียน นโยบาย ระหว่างการทำงาน P D A C เสริมพลังทีม ตระหนักคุณค่า + ให้โอกาส (ให้เกียรติ) มีส่วนร่วม ( ร่วมคิด-ทำ-เรียนรู้ ..) เสริมศักยภาพ-สมรรถนะการทำงาน เริ่ม จากจุดแข็ง (ต่อยอด) การจัดการความรู้ (KM) ออกแบบ.. โครงสร้าง/ความสัมพันธ์ คิดบวก (Positive thinking) แนวราบ > แนวดิ่ง สบาย ๆ > เป็นพิธีรีตอง แลกเปลี่ยน > อภิปรายจุดยืน สรุปบทเรียน ระหว่างการทำงาน M&E (monitoring & Evaluation) สรุปกิจกรรม (AAR) After Action Review เรียนรู้จากความสำเร็จ best practice

โครงสร้างของท้องถิ่น .. โดยธรรมชาติแล้ว มีความเรียบง่าย สร้างการมีส่วนร่วมได้มาก เหมาะกับการทำงานแนวราบ มากกว่า แนวดิ่ง (มาตรฐานเรื่องต่างๆ) ท้องถิ่นควรส่งเสริมให้เกิดการทำงานแบบอาสา มากกว่าการจ้างงาน (ตำแหน่งประจำ) การฝึกอบรมคนทำงานระดับท้องถิ่น .. เราต้องการผู้เชื่อมประสาน มากกว่าผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง อ. เอนก เหล่าธรรมทัศน์

ยิ่งสร้างมาตรฐาน ตัวชี้วัด / กฎเกณฑ์ .. ลงไปมาก ยิ่งลดการมี ส่วนร่วม ในพื้นที่หลวมๆ ไม่ถูกตีเส้นจับจองไว้อย่างชัดเจน .. เปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมได้มาก นโยบายประชานิยม .. สร้างความเป็นปัจเจก (membership) ลดการทำงานร่วมกัน .. ส่งเสริมให้คนเสพติด .. บริโภคนิยม ความไม่เป็นธรรม มักเกิดจากสัมพันธ์กันแนวดิ่ง ในช่วงที่ไม่มีหวัง ระแวงกัน  ชวนกันไปดูคนที่ถูกทอดทิ้ง อ. อเนก นาคะบุตร

ถ้าใช้ ความรู้ในตำรา เป็นตัวตั้ง จะมีคนส่วนน้อยรู้สึกมีเกียรติ แต่ถ้า เคารพความรู้ในตัวคน .. คนจะอยากแลกเปลี่ยน เด็กที่เข้าโรงเรียนจะมองว่าชาวบ้านไม่มีเกียรติ เราต้องกระตุ้นให้นักเรียนไปเรียนกับคนในชุมชน ทำแผนที่ทรัพยากร ในจังหวัด (ต้นทุน) เช่น ปราชญ์ชาวบ้าน คนทำงาน กลุ่มแกน NGO ธุรกิจต่างๆ เพื่อดึงศักยภาพและเชื่อมโยงเข้าหากัน การพัฒนาคือการเชื่อมโยง ทำให้มีชีวิต (การแยกส่วนทำให้หยุด) .. เชื่อมโยงด้วยใจ.. เพราะคนติดในโมฆะ อคติ อ. ประเวศ วะสี

แผนชุมชน .. แบบนี้ ใช่เลย ? (ถอดบทเรียน จากแผนชุมชนที่ประสบความสำเร็จ) ได้ตัวจริง .. เข้าร่วมทำแผน ได้ข้อมูลนำเข้าที่มีคุณภาพ (รอบด้าน ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน) มีการปรับทัศนะ-มุมมอง ในการวิเคราะห์ และ แก้ไขปัญหา มองแบบแยกส่วน เห็นปัญหาเป็นเรื่องๆ  องค์รวม (เชิงระบบ) มองแต่จุดอ่อน หาส่วนที่ขาด  เห็นจุดแข็ง ทุนที่มี (ศักยภาพ) ใช้สูตรสำเร็จในการแก้ไขทุกเรื่อง  ปรับวิธีแก้ตามบริบท แก้ปัญหาแบบเฉพาะหน้า , ให้จบๆ ไป  แก้ที่รากปัญหา ทำตามนโยบาย .. เปลี่ยนก็หยุด  เรียนรู้ ปรับแก้อย่างต่อเนื่อง ออกแบบกระบวนการทำแผน .. ให้เกิดการมีส่วนร่วม สร้างความสัมพันธ์แนวราบ สร้างกระบวนการ/บรรยากาศการแลกเปลี่ยน ที่ดี จัดเตรียมการติดตามกำกับในประเด็นสำคัญ ร่วมใจ ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมเรียนรู้

. . PMQA ชาว คร. ผู้น่าสงสาร ของดีๆทั้งนั้น จะไปกลัวมันทำไม? WHAT BSC Many more to come. WHAT KM DSC TQM PMQA ISO BSC . . ชาว คร. ผู้น่าสงสาร