การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
Advertisements

โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
การเขียนบทความ.
: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
นายกสภา มหาวิทยาลัยมหิดล
การเขียนผลงานวิชาการ
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
กับการสร้างหน่วยการเรียนรู้
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
หลักการพัฒนา หลักสูตร
ตัวชี้วัด รายวิชา อ ต 1.1 ม.2/1 ปฏิบัติตามคำขอร้อง คำแนะนำ คำ ชี้แจง และคำอธิบาย ง่าย ๆ ที่ฟังและ ชี้แจง และคำอธิบาย ง่าย ๆ ที่ฟังและ อ่าน อ่าน.
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
คุณภาพการประเมินนักเรียนและสถานศึกษา เพื่อรับรางวัลพระราชทาน
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
ธุรกิจ จดหมาย.
การจัดการเรียนรู้โดยใช้กรณีศึกษา (Case Study Method)
การใช้สถานการณ์จำลองในการจัดการเรียนรู้ (Simulation Method)
ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การเขียนรายงานการวิจัย
การสร้างข้อสอบตามแนวการวัด ในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การวัดผล (Measurement)
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
หลักสูตรพัฒนาความสามารถในการสร้างเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
ลักษณะข้อสอบการอ่าน PISA 2009.
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
บทบาทสมมติ (Role Playing)
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
เทคนิคการสื่อสารกับผู้ปกครอง (Communication Skill)
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การเขียนรายงานผลการวิจัย
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
วิธีสอนแบบอุปนัย.
แบบทดสอบ คือ... ชุดของข้อคำถามที่สร้าง ขึ้นเพื่อใช้วัดความรู้ สติปัญญา ความถนัด และ บุคลิกภาพของบุคคล โดย บุคคลนั้นจะตอบสนองโดย การแสดงพฤติกรรมใน รูปแบบต่างๆ.
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA

ตัวอย่างข้อสอบ PISA สถานการณ์ที่ 1

ตัวอย่างข้อสอบ PISA สถานการณ์ที่ 1

ตัวอย่างข้อสอบ PISA สถานการณ์ที่ 1

ตัวอย่างข้อสอบ PISA สถานการณ์ที่ 1

ตัวอย่างข้อสอบ PISA สถานการณ์ที่ 2 เสื้อผ้า

ตัวอย่างข้อสอบ PISA สถานการณ์ที่ 2 เสื้อผ้า

องค์ประกอบสำคัญของข้อสอบมี 2 ส่วน ดังนี้ ลักษณะข้อสอบ PISA องค์ประกอบสำคัญของข้อสอบมี 2 ส่วน ดังนี้ 1. สถานการณ์หรือข้อสนเทศ 2. คำถามหรือปัญหา

สถานการณ์หรือข้อสนเทศ สถานการณ์คือ เป็นส่วนของข้อมูลเพื่อใช้ในการตอบคำถาม โดยนำเสนอ เหตุการณ์ ปรากฏการณ์ หรือการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับเนื้อหาสาระของบทเรียน รวมทั้งมีความเชื่อมโยงกับความเป็นจริงของชีวิต และสังคม ควรมีลักษณะ เหตุการณ์จริงหรือสถานการณ์จำลองที่ใกล้เคียงความจริง ความรู้ต่างๆ ที่มีผู้อื่นรวบรวมไว้แล้ว ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน หรือประเด็นที่สังคมให้ความสนใจ สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับบทเรียน สาระการเรียนรู้ เรื่องสมมติที่สามารถนำมาวิเคราะห์ แก้ปัญหา ให้ความคิดเห็น หรือแสดงความรู้สึก

คำถามหรือปัญหา สถานการณ์คือ ควรมีลักษณะ เป็นส่วนของคำสั่งที่ระบุให้ทราบว่าต้องการให้ทำอะไร โดยทั่วไปต้องการให้ตอบสนองโดยการคิดในเชิงวิทยาศาสตร์และนำความรู้ ทักษะต่างๆ ไปเพื่อใช้แก้ปัญหา ควรมีลักษณะ สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และสถานการณ์ที่กำหนด สื่อสารได้ชัดเจนและใช้ภาษาที่เหมาะสมกับระดับของผู้เรียน ส่งเสริมให้ผู้เรียนคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ อภิปราย แก้ปัญหา ตัดสินใจ ประเมินค่า และสร้างคำตอบได้อย่างสมเหตุผล เนื้อหาของคำถามมีความยุติธรรมสำหรับผู้เรียนทุกคน

ลักษณะข้อสอบ เลือกตอบ เลือกตอบเชิงซ้อน เขียนตอบแบบสั้น/ปิด 1 เลือกตอบเชิงซ้อน 2 เขียนตอบแบบสั้น/ปิด 3 เขียนตอบแบบอิสระ 4

ข้อสอบแบบเขียนตอบ การเตรียมข้อสอบแบบเขียนตอบ ควรมีแนวการตอบและเกณฑ์การให้คะแนนด้วย เพื่อให้ผู้ตรวจคำตอบสามารถตรวจได้สะดวกและให้คะแนนได้ตรงกัน แนวคำตอบ เกณฑ์การให้คะแนน เป็นเกณฑ์ที่กำหนดขึ้นสำหรับการให้คะแนนคำตอบโดยพิจารณาความถูกต้อง ครบถ้วนและความสมบูรณ์ของคำตอบเป็นสำคัญ เป็นหลักการหรือแนวคิดที่เป็นไปได้ในการตอบคำถาม

ลักษณะของเกณฑ์การให้คะแนนแบบเขียนตอบ เกณฑ์การให้คะแนนข้อสอบแบบเขียนตอบ ลักษณะของเกณฑ์การให้คะแนนแบบเขียนตอบ 1. เกณฑ์ให้คะแนนแบบภาพรวม ดูภาพรวมที่แสดงถึงความเข้าใจ การเกิดแนวคิดหลัก กระบวนการที่ใช้ และการสื่อความหมาย และแบ่งระดับคุณภาพของงานโดยเขียนอธิบายพฤติกรรมการแสดงออกในแต่ละระดับอย่างชัดเจน 2. เกณฑ์ให้คะแนนแบบแยกองค์ประกอบ แยกองค์ประกอบของผลงาน ออกเป็นด้านต่างๆ และอธิบายพฤติกรรมการแสดงออกในแต่ละ องค์ประกอบเป็นระดับ