การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
ตัวอย่างข้อสอบ PISA สถานการณ์ที่ 1
ตัวอย่างข้อสอบ PISA สถานการณ์ที่ 1
ตัวอย่างข้อสอบ PISA สถานการณ์ที่ 1
ตัวอย่างข้อสอบ PISA สถานการณ์ที่ 1
ตัวอย่างข้อสอบ PISA สถานการณ์ที่ 2 เสื้อผ้า
ตัวอย่างข้อสอบ PISA สถานการณ์ที่ 2 เสื้อผ้า
องค์ประกอบสำคัญของข้อสอบมี 2 ส่วน ดังนี้ ลักษณะข้อสอบ PISA องค์ประกอบสำคัญของข้อสอบมี 2 ส่วน ดังนี้ 1. สถานการณ์หรือข้อสนเทศ 2. คำถามหรือปัญหา
สถานการณ์หรือข้อสนเทศ สถานการณ์คือ เป็นส่วนของข้อมูลเพื่อใช้ในการตอบคำถาม โดยนำเสนอ เหตุการณ์ ปรากฏการณ์ หรือการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับเนื้อหาสาระของบทเรียน รวมทั้งมีความเชื่อมโยงกับความเป็นจริงของชีวิต และสังคม ควรมีลักษณะ เหตุการณ์จริงหรือสถานการณ์จำลองที่ใกล้เคียงความจริง ความรู้ต่างๆ ที่มีผู้อื่นรวบรวมไว้แล้ว ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน หรือประเด็นที่สังคมให้ความสนใจ สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับบทเรียน สาระการเรียนรู้ เรื่องสมมติที่สามารถนำมาวิเคราะห์ แก้ปัญหา ให้ความคิดเห็น หรือแสดงความรู้สึก
คำถามหรือปัญหา สถานการณ์คือ ควรมีลักษณะ เป็นส่วนของคำสั่งที่ระบุให้ทราบว่าต้องการให้ทำอะไร โดยทั่วไปต้องการให้ตอบสนองโดยการคิดในเชิงวิทยาศาสตร์และนำความรู้ ทักษะต่างๆ ไปเพื่อใช้แก้ปัญหา ควรมีลักษณะ สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และสถานการณ์ที่กำหนด สื่อสารได้ชัดเจนและใช้ภาษาที่เหมาะสมกับระดับของผู้เรียน ส่งเสริมให้ผู้เรียนคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ อภิปราย แก้ปัญหา ตัดสินใจ ประเมินค่า และสร้างคำตอบได้อย่างสมเหตุผล เนื้อหาของคำถามมีความยุติธรรมสำหรับผู้เรียนทุกคน
ลักษณะข้อสอบ เลือกตอบ เลือกตอบเชิงซ้อน เขียนตอบแบบสั้น/ปิด 1 เลือกตอบเชิงซ้อน 2 เขียนตอบแบบสั้น/ปิด 3 เขียนตอบแบบอิสระ 4
ข้อสอบแบบเขียนตอบ การเตรียมข้อสอบแบบเขียนตอบ ควรมีแนวการตอบและเกณฑ์การให้คะแนนด้วย เพื่อให้ผู้ตรวจคำตอบสามารถตรวจได้สะดวกและให้คะแนนได้ตรงกัน แนวคำตอบ เกณฑ์การให้คะแนน เป็นเกณฑ์ที่กำหนดขึ้นสำหรับการให้คะแนนคำตอบโดยพิจารณาความถูกต้อง ครบถ้วนและความสมบูรณ์ของคำตอบเป็นสำคัญ เป็นหลักการหรือแนวคิดที่เป็นไปได้ในการตอบคำถาม
ลักษณะของเกณฑ์การให้คะแนนแบบเขียนตอบ เกณฑ์การให้คะแนนข้อสอบแบบเขียนตอบ ลักษณะของเกณฑ์การให้คะแนนแบบเขียนตอบ 1. เกณฑ์ให้คะแนนแบบภาพรวม ดูภาพรวมที่แสดงถึงความเข้าใจ การเกิดแนวคิดหลัก กระบวนการที่ใช้ และการสื่อความหมาย และแบ่งระดับคุณภาพของงานโดยเขียนอธิบายพฤติกรรมการแสดงออกในแต่ละระดับอย่างชัดเจน 2. เกณฑ์ให้คะแนนแบบแยกองค์ประกอบ แยกองค์ประกอบของผลงาน ออกเป็นด้านต่างๆ และอธิบายพฤติกรรมการแสดงออกในแต่ละ องค์ประกอบเป็นระดับ