สรุปผลการส่งเสริมพัฒนาการเด็กวัย ๐ - ๕ ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Homeward& Rehabilitation system
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร และพัฒนาโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล
บทบาท อสม. ในการดำเนินการ“รวมพลัง อสม
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
สวัสดีครับ.
องค์ประกอบ/กระบวนงานด้านการคุ้มครองเด็ก ในระดับจังหวัดสมุทรสาคร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
แนวทางการดำเนินงาน และ แผนการดำเนินงาน
ระบบHomeward& Rehabilation center
แนวทางการดำเนินงาน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ในโรงเรียนเอกชน
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
คณะทำงานกลุ่มที่ 1 ลำปาง เชียงราย อุตรดิตย์ ลำพูน พะเยา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
กลุ่ม ๓ ชื่อ กลุ่ม....สามซ่าๆๆ.
ภาพฝัน ? การป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
ส่งเสริมสัญจร.
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
ความท้าทาย....ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
แผนงานดูแลผู้สูงอายุ
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
เล่าสู่กันฟัง ดร.รังสรรค์ มณีเล็ก
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
สกลนครโมเดล.
โครงการ บูรณาการความร่วมมือภาคีเครือข่าย สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อผู้สูงอายุสุขภาพดี “80 ปี ยังแจ๋ว”
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กรอบประเด็น คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปผลการส่งเสริมพัฒนาการเด็กวัย ๐ - ๕ ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ห้องกรณิกา ๒

กิจกรรม บรรยาย โรคทางจิตเวชเด็กและการดูแลช่วยแหลือสำหรับครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก วิทยากร อ.รณสิงห์ รือเรือง นักจิตวิทยาคลินิกชำนาญการพิเศษ ส สถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์

สาเหตุการเกิดโรค อาการที่พบ วิธีการรักษา การดูช่วยเหลือโดยครู และผู้ปกครอง และการปรับพฤติกรรม เบื้องต้น โรคสมาธิสั้น ADHD เด็กที่มีปัญหาการเรียน จากระดับสติปัญญาต่ำกว่าเกณฑ์ (MR) เด็กที่มีปัญหาการเรียน การเรียนรู้ (LD) เด็กออทิสติก

กิจกรรม อภิปราย แลกเปลี่ยนเรียนรู้การส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ๐ – ๕ ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ผู้ร่วมอภิปราย ๑. อ.สุภาภรณ์ บัณฑิตย์ ประธานสาขา การศึกษาประถมวัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ๒. นายณัฐวุฒิ สายเปีย ผช.จพง.พัฒนาชุมชน เทศบาลตำบลแม่ต้าน ๓. อ. อังคณา แสงอรุณ ครูผู้ดูแลเด็ก เทศบาลบางระกำเมืองใหม่ ๔. อ. อำภา เขียวแก้ว ครูผู้ดูแลเด็ก เทศบาลตำบลแม่ระมาด ผู้ดำเนินการอภิปราย นางศุภัคพิมล ปาแปง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ สถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์

แนวทางการดำเนินงานและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดความสำเร็จ - การให้ความสำคัญของผู้บริหาร - มีการกำหนดมาตรฐานจากส่วนกลาง เช่น หลักสูตรการพัฒนาเด็ก ครอบคลุม 4 ด้าน ( ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม) มาตรฐานศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ - มีการกำหนดเป็นนโยบาย กำหนดแผนยุทธศาสตร์ แผนระยะสั้นของ อปท. แผนงบประมาณประจำปี และแผนปฏิบัติงานประจำปี - มีการจัดตั้งคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เพื่อกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการ (ครู อปท. สธ ผู้ปกครอง)

แนวทางการดำเนินงานและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก(ต่อ) ปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดความสำเร็จ(ต่อ) - วางแผนการดำเนินงาน จากการSWOT กำหนดทิศทางการดำเนินงานในศูนย์ เช่นการเฝ้าระวัง คัดกรองพัฒนาการ การจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการเด็กร่วมกับผู้ปกครอง - การพัฒนาบุคลากรภายในศูนย์อย่างต่อเนื่อง เครือข่ายชมรมครูผู้ดูแลเด็กในเขตและมีการประสานอย่างต่อเนื่อง - ยึดเด็กเป็นสำคัญ จะต้องพัฒนาให้ เด็ก เก่ง ดี และมีความสุข - การคัดกรองพัฒนาการมีประเมินเด็กอย่างรอบด้านร่วมกับ ครูและผู้ปกครอง

การประสานการดำเนินงาน/การเชื่อมโยงงานส่งเสริมพัฒนาการเด็กและผู้ปกครอง ปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดความสำเร็จ - มีหน่วยงานที่รองรับเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการ เพื่อการส่งต่อเด็กไปรับการวินิจฉัยรักษาเช่น รพสต. รพช. ศูนย์การศึกษาพิเศษ - มีระบบการประสานเพื่อสื่อสารเรื่องพัฒนาการเด็กกำหนดแนวทางชัดเจน อย่างเป็นทางการ (ผู้ปกครอง ครู สธ.) - มีกิจกรรมที่สร้างความมีส่วนร่วมระหว่างเด็ก ผู้ปกครอง เจ้าหน้าที่สธ. - ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้สูงอายุ ผู้ปกครองเพื่อดำเนินกิจกรรมกับเด็กภายในศูนย์

เทคนิค/เคล็ดลับ การดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ผู้ปกครองและการดูแลร่วมกันในชุมชุน การวางแผนการดำเนินงานและปรับปรุงรูปแบบการดำเนินงาน PDCA การพูดคุยทำความเข้าใจกับผู้บริหารเพื่อกำหนยุทธศาสตร์ การดำเนินงานพัฒนาเด็กโดยเริ่มที่การพัฒนาศูนย์เด็กเล็ก เน้นการพัฒนาบทบาทของผู้ปกครองให้มีส่วนร่วมดำเนินการพัฒนาเด็ก มีการกำหนดกิจกรรมโครงการการพัฒนา แผนการพัฒนา ระยะสั้น ระยะยาว งบประมาณ พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ประกวด แข่งขัน เพื่อให้เกิดการพัฒนาตามเกณฑ์มาตรฐานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก การสร้างทีมเพื่อร่วมดำเนินงาน พยุงช่วยเหลือกันระหว่างศูนย์ เพื่อการพัฒนาที่ก้าวไปพร้อมกันทั้งอำเภอ พร้อมกัน

ยกมือ ยิ้มแย้ม หยิบยื่น ยกย่อง บทเพลง นิทาน การสร้างพฤติกรรมที่ดี สวัสดี ยกมือ ยิ้มแย้ม หยิบยื่น ยกย่อง บทเพลง นิทาน การสร้างพฤติกรรมที่ดี