นิยาม Policy: ทิศทางของการกระทำที่ชัดเจนที่ได้ชี้นำและกำหนดการตัดสินใจ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 การเผยแพร่ความรู้ และประชาสัมพันธ์ให้กับสาธารณชนทราบ
Advertisements

ทางออก ทางรอดชนบทไทย ในกระแสอาเซียน”
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
โครงการ “การวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสงครามโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
“ การส่งเสริมโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยสุขภาพดี ”
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548
C P L F KPI 1 เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80 ครอบครัว เด็ก แม่
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
การส่งเสริมทันต สุขภาพในอนาคต มุมมองของนัก โภชนาการ สง่า ดามาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขระดับ 9 กรมอนามัย.
เล่าเรื่อง หัวใจแห่งความสำเร็จ การส่งเสริมสุขภาพ
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
การกำหนดและการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ด้านอาหารและ โภชนาการ
การจัดกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ศูนย์อนามัยที่๔ ราชบุรี
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
เด็กผอม – เด็กอ้วน ล้วนเป็นปัญหาของชาติ
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
ประเด็น วิเคราะห์แนวคิดพิชิตโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
( Healthy Public Policy ).  มีนโยบายสาธารณะในการควบคุม การบริโภคอาหาร เครื่องดื่ม ยา และผลิตภัณฑ์ที่ส่งผลเสียต่อ สุขภาพ  มีนโยบายสาธารณะที่ส่งเสริมการ.
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
งานโภชนาการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 10
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
โครงการ หมู่บ้าน/ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
พัฒนาองค์กรไร้พุง มุ่งสู่ความยั่งยืน
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
บทบาท อสม.เชิงรุก ๑. เป็นผู้นำทางความคิดและผู้นำทางด้านสุขภาพในระดับชุมชน ในการลดโรค ๕ โรคสำคัญที่เป็นสาเหตุการตายลำดับต้นๆของประชาชน คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง.
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
องค์กรไร้พุง โรงพยาบาลภูเวียง.
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
นโยบายยางน้อยสุขภาพดี ไม่มีพุง
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
กรมอนามัย ในบทบาทโครงการ
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
จุดประกายการพัฒนาศักยภาพโรงเรียนเด็กไทยแก้มสและบนบาทของทีมวิทยากรระดับเขต วันที่ 5 มกราคม 2557 โรงแรมเอเชีย แอร์พอร์ท โดย สง่า ดามาพงษ์
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
แผนงาน พัฒนาศักยภาพเครือข่าย เพื่อการขับเคลื่อนงาน อาหารและโภชนาการเชิง รุก โดย นายสง่า ดามาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุข ระดับ 9 กรมอนามัย.
เป้าประสงค์ มีระบบและกลไกการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหารและโภชนาการในระดับท้องถิ่น เกิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียน และชุมชนที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการพัฒนานโยบายสาธารณะ เพื่อสนับสนุนมาตรการส่งเสริมสุขภาพ “คนไทยไร้พุง”

นิยาม Policy: ทิศทางของการกระทำที่ชัดเจนที่ได้ชี้นำและกำหนดการตัดสินใจ Public Policy: การตัดสินใจที่มีผลกระทบต่อสังคมที่ได้แสดงออกมาในการออกกฎหมาย หรือไม่ว่าจะมาจากการตัดสินใจของบริษัทเอกชน หรือองค์กรที่ไม่แสวงหากำไร Health Policy: การตัดสินใจหรือการกระทำที่ตั้งใจเพื่อให้เกิดผลกระทบเชิงบวกต่อสุขภาพโดยตรง Healthy Public Policy: การตัดสินใจหรือการกระทำใดๆที่ไม่ส่งผลกระทบทางลบต่อสุขภาพของคนในสังคม หรือคำนึงถึงสุขภาพประกอบด้วย

กระบวนการสร้างนโยบายสาธารณะที่ดี Top down การกำหนดนโยบายจากฝ่ายการเมืองหรือส่วนราชการผู้เกี่ยวข้อง Bottom up กระบวนการสร้างนโยบายที่เกิดจากการผลักดันของระดับล่าง โดยที่ชุมชนจะเป็นแรงผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านนโยบาย

ขั้นตอนการทำนโยบาย สร้างประเด็น (Policy formulation) เป็นไปได้ ตรงกับปัญหา มีเหตุผล มีส่วนร่วม ดำเนินการ (Policy implementation) เข้าใจและเห็นพ้องต้องกัน ประเมินผล (Policy evaluation) เกิดนโยบาย เกิดผล อย่างที่ตั้งใจตั้งแต่แรกหรือไม่

กระบวนการหลัก (Core Process) ดำเนินการ 6 ขั้นตอน ดังนี้ 1. ริเริ่มประเด็น และหามติเรื่องข้อเสนอเชิงนโยบาย โดย 1.1 ศึกษาข้อเสนอเชิงนโยบายของเครือข่ายพื้นที่ 1.2 ประสานงานกับภาคีเครือข่าย 2. ระดมการสนับสนุนจากฝ่ายต่างๆ ทั้งนักวิชาการ วิชาชีพ ผู้บริโภค ผู้ได้รับผลกระทบจากนโยบาย เพื่อร่วมคิดร่วมผลักดัน โดยจะต้องมีข้อมูลเชิงประจักษ์สนับสนุน ประเด็นนโยบายตามข้อ 1 ที่ชัดเจนในทุกแง่มุม รวมทั้งมีการวิเคราะห์ถึงสภาพจริง และความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ

กระบวนการหลัก (ต่อ) พัฒนาแผนปฏิบัติการตามนโยบายและยุทธศาสตร์ที่กำหนด และดำเนินการตามแผน ประชุมรับฟังความคิดเห็น และส่งเสริมให้มีส่วนร่วมอย่างกว้างขวาง ใช้กระบวนการ KM เผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนและภาคการเมือง 6. ประเมินความสำเร็จ และเสนอแผนปฏิบัติการในการนำนโยบายสู่การปฏิบัติ (Policy to Practice)

กรอบการทำงาน ขับเคลื่อน HPP คณะทำงานคนไทยไร้พุง KM M&E KPI OUTPUT KPI OUTCOME HPP ประเทศ ขับเคลื่อน HPP

ภาคีที่ร่วมดำเนินการ 1. นักวิชาการ และวิชาชีพ อาทิเช่น - ภาคีที่ทำงานด้านโรควิถีชีวิต อาทิเช่น เครือข่ายคนไทยไร้พุง กรมควบคุมโรค - เครือข่ายด้านโภชนาการ อาทิเช่น เครือข่ายโภชนาการเชิงรุก เครือข่ายเด็กไทยไม่กินหวาน ชมรมโภชนาการสำหรับเด็ก สถาบันโภชนาการ มหิดล - เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค - ภาคีที่ทำงานด้านส่งเสริมการออกกำลังกาย - ภาคีที่ทำงานด้านนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ อาทิเช่น สวรส. มสช. สปรส. 2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประชาชน หรือผู้บริโภค 3. เครือข่ายพื้นที่ (จังหวัดที่เป็นพื้นที่ปฏิบัติการ)

ตัวอย่างนโยบายสาธารณะ ออสเตรเลีย สร้างนิสัยการบริโภคอาหาร/เครื่องดื่มที่ดีต่อสุขภาพ อาหารว่างที่จัดให้ เป็นผักและผลไม้เท่านั้น มีน้ำดื่มสะอาด ในห้องเรียน จัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อ ไม่มีน้ำอัดลมจำหน่ายใน รร. เครื่องหยอดเหรียญใส่ได้เฉพาะอาหารมีประโยชน์ ครูเป็นตัวแบบที่ดี ไม่ให้ของหวานเป็นรางวัล สร้างเครือข่ายผู้ปกครอง

สิงคโปร์ ห้ามขายเครื่องดื่มที่มีน้ำตาล > 8% หรือที่เติมสารให้ความหวาน น้ำผัก ผลไม้ต้องไม่เติมน้ำตาล มีน้ำเปล่า สะอาด อย่างทั่วถึง ขายอาหารทอดได้สัปดาห์ละ 1 วัน เนื้อสัตว์ที่มาทำอาหารต้องลอกหนังออก และไม่ติดมัน มีการขายผลไม้สดอย่างน้อย 2 ชนิด/วัน ห้ามเสริฟน้ำเกรวี่ ซอส ถ้าไม่ขอ

ประเทศไทย โรงเรียนปลอดน้ำอัดลม ร้านอาหารแสดงพลังงาน ส่งเสริมการใช้จักรยาน : ลู่ ที่จอดปลอดภัย ทำทะเบียน ร้านจำหน่าย/ ซ่อมสะดวก สนามเด็กเล่น กิจกรรมนักเรียน : วิ่ง 15 นาทีก่อนกลับบ้าน

การทำ Model นโยบายสาธารณะ(ภายในองค์กร กรมอนามัย) นโยบายการออกกำลังกาย - ส่งเสริมการขึ้นบันไดแทนการใช้ลิฟท์ - ส่งเสริมการออกกำลังกายโดยการจัดแข่งขันกีฬา นโยบายด้านอาหาร - Healthy meeting - การระบุพลังงานของอาหารที่จำหน่ายในโรงอาหาร

บอกลาความอ้วน คืนสู่ธรรมชาติด้วย 3 อ. บอกลาความอ้วน คืนสู่ธรรมชาติด้วย 3 อ. สวัสดี