โครงการพัฒนานโยบายสาธารณะ เพื่อสนับสนุนมาตรการส่งเสริมสุขภาพ “คนไทยไร้พุง”
นิยาม Policy: ทิศทางของการกระทำที่ชัดเจนที่ได้ชี้นำและกำหนดการตัดสินใจ Public Policy: การตัดสินใจที่มีผลกระทบต่อสังคมที่ได้แสดงออกมาในการออกกฎหมาย หรือไม่ว่าจะมาจากการตัดสินใจของบริษัทเอกชน หรือองค์กรที่ไม่แสวงหากำไร Health Policy: การตัดสินใจหรือการกระทำที่ตั้งใจเพื่อให้เกิดผลกระทบเชิงบวกต่อสุขภาพโดยตรง Healthy Public Policy: การตัดสินใจหรือการกระทำใดๆที่ไม่ส่งผลกระทบทางลบต่อสุขภาพของคนในสังคม หรือคำนึงถึงสุขภาพประกอบด้วย
กระบวนการสร้างนโยบายสาธารณะที่ดี Top down การกำหนดนโยบายจากฝ่ายการเมืองหรือส่วนราชการผู้เกี่ยวข้อง Bottom up กระบวนการสร้างนโยบายที่เกิดจากการผลักดันของระดับล่าง โดยที่ชุมชนจะเป็นแรงผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านนโยบาย
ขั้นตอนการทำนโยบาย สร้างประเด็น (Policy formulation) เป็นไปได้ ตรงกับปัญหา มีเหตุผล มีส่วนร่วม ดำเนินการ (Policy implementation) เข้าใจและเห็นพ้องต้องกัน ประเมินผล (Policy evaluation) เกิดนโยบาย เกิดผล อย่างที่ตั้งใจตั้งแต่แรกหรือไม่
กระบวนการหลัก (Core Process) ดำเนินการ 6 ขั้นตอน ดังนี้ 1. ริเริ่มประเด็น และหามติเรื่องข้อเสนอเชิงนโยบาย โดย 1.1 ศึกษาข้อเสนอเชิงนโยบายของเครือข่ายพื้นที่ 1.2 ประสานงานกับภาคีเครือข่าย 2. ระดมการสนับสนุนจากฝ่ายต่างๆ ทั้งนักวิชาการ วิชาชีพ ผู้บริโภค ผู้ได้รับผลกระทบจากนโยบาย เพื่อร่วมคิดร่วมผลักดัน โดยจะต้องมีข้อมูลเชิงประจักษ์สนับสนุน ประเด็นนโยบายตามข้อ 1 ที่ชัดเจนในทุกแง่มุม รวมทั้งมีการวิเคราะห์ถึงสภาพจริง และความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ
กระบวนการหลัก (ต่อ) พัฒนาแผนปฏิบัติการตามนโยบายและยุทธศาสตร์ที่กำหนด และดำเนินการตามแผน ประชุมรับฟังความคิดเห็น และส่งเสริมให้มีส่วนร่วมอย่างกว้างขวาง ใช้กระบวนการ KM เผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนและภาคการเมือง 6. ประเมินความสำเร็จ และเสนอแผนปฏิบัติการในการนำนโยบายสู่การปฏิบัติ (Policy to Practice)
กรอบการทำงาน ขับเคลื่อน HPP คณะทำงานคนไทยไร้พุง KM M&E KPI OUTPUT KPI OUTCOME HPP ประเทศ ขับเคลื่อน HPP
ภาคีที่ร่วมดำเนินการ 1. นักวิชาการ และวิชาชีพ อาทิเช่น - ภาคีที่ทำงานด้านโรควิถีชีวิต อาทิเช่น เครือข่ายคนไทยไร้พุง กรมควบคุมโรค - เครือข่ายด้านโภชนาการ อาทิเช่น เครือข่ายโภชนาการเชิงรุก เครือข่ายเด็กไทยไม่กินหวาน ชมรมโภชนาการสำหรับเด็ก สถาบันโภชนาการ มหิดล - เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค - ภาคีที่ทำงานด้านส่งเสริมการออกกำลังกาย - ภาคีที่ทำงานด้านนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ อาทิเช่น สวรส. มสช. สปรส. 2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประชาชน หรือผู้บริโภค 3. เครือข่ายพื้นที่ (จังหวัดที่เป็นพื้นที่ปฏิบัติการ)
ตัวอย่างนโยบายสาธารณะ ออสเตรเลีย สร้างนิสัยการบริโภคอาหาร/เครื่องดื่มที่ดีต่อสุขภาพ อาหารว่างที่จัดให้ เป็นผักและผลไม้เท่านั้น มีน้ำดื่มสะอาด ในห้องเรียน จัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อ ไม่มีน้ำอัดลมจำหน่ายใน รร. เครื่องหยอดเหรียญใส่ได้เฉพาะอาหารมีประโยชน์ ครูเป็นตัวแบบที่ดี ไม่ให้ของหวานเป็นรางวัล สร้างเครือข่ายผู้ปกครอง
สิงคโปร์ ห้ามขายเครื่องดื่มที่มีน้ำตาล > 8% หรือที่เติมสารให้ความหวาน น้ำผัก ผลไม้ต้องไม่เติมน้ำตาล มีน้ำเปล่า สะอาด อย่างทั่วถึง ขายอาหารทอดได้สัปดาห์ละ 1 วัน เนื้อสัตว์ที่มาทำอาหารต้องลอกหนังออก และไม่ติดมัน มีการขายผลไม้สดอย่างน้อย 2 ชนิด/วัน ห้ามเสริฟน้ำเกรวี่ ซอส ถ้าไม่ขอ
ประเทศไทย โรงเรียนปลอดน้ำอัดลม ร้านอาหารแสดงพลังงาน ส่งเสริมการใช้จักรยาน : ลู่ ที่จอดปลอดภัย ทำทะเบียน ร้านจำหน่าย/ ซ่อมสะดวก สนามเด็กเล่น กิจกรรมนักเรียน : วิ่ง 15 นาทีก่อนกลับบ้าน
การทำ Model นโยบายสาธารณะ(ภายในองค์กร กรมอนามัย) นโยบายการออกกำลังกาย - ส่งเสริมการขึ้นบันไดแทนการใช้ลิฟท์ - ส่งเสริมการออกกำลังกายโดยการจัดแข่งขันกีฬา นโยบายด้านอาหาร - Healthy meeting - การระบุพลังงานของอาหารที่จำหน่ายในโรงอาหาร
บอกลาความอ้วน คืนสู่ธรรมชาติด้วย 3 อ. บอกลาความอ้วน คืนสู่ธรรมชาติด้วย 3 อ. สวัสดี