Dr. Louis Lebel มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีใหม่.
Advertisements

 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
กรอบแนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
การประชาสัมพันธ์ห้องสมุด อย่างมืออาชีพ
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
เทคโนโลยีระบบบำบัดน้ำเสียด้วยพืชกรองน้ำเสีย
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
สรุปการประชุม เขต 10.
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
SPATIAL PLANING : SGA-PEI รศ. ดร
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ทีม นำ “ การนำที่มั่นคง และยั่งยืน ”. “ บางครั้ง การยอมถอยซักก้าว เราจะเห็นทะเลที่ใหญ่ และท้องฟ้าที่สดใสกว่าเดิม ”
เวทีแลกเปลี่ยนความรู้เพื่อ การปรับตัวต่อการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศใน ประเทศไทย ดร. หลุยส์ เลอเบล ผู้อำนวยการ หน่วยวิจัยสังคมและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ Process Management
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
สรุปการประชุมระดมความคิด
โครงการเพิ่มศักยภาพการใช้มาตรการ เศรษฐศาสตร์เพื่อคงคุณค่าระบบนิเวศ และความหลากหลายทางชีวภาพ Enhancing the Economics of Biodiversity and Ecosystems.
การแปลงนโยบายและแผน นำสู่การปฏิบัติ
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
การศึกษาวิจัย เรื่อง ผู้วิจัย นายอภิวิชญ์ ปีนัง
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
บทสรุปจากการประชุม เครือข่ายระบบสารสนเทศน้ำจังหวัด
หลักการเขียนโครงการ.
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
การสังเคราะห์ (synthesis)
ด. ช. อติชาต ปันเต ม.1/12 เลขที่ 4 ด. ช. ณปภัช เรือนมูล ม.1/12 เลขที่ 5.
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทเรียนที่ได้รับจากการประเมินคุณค่าของระบบนิเวศที่มีต่อความอยู่ดีมีสุขในประเทศไทย Dr. Louis Lebel มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ llebel@loxinfo.co.th, louis@sea-user.org การเสวนาแลกเปลียนประสบการณ์และบทเรียนเกียวกับ เครืองมือสนับสนุนการพัฒนาเชิงพืน ทีเพือการเติบโตสีเขียว วันที ๒๕ ตุลาคม ๒๕๕๕

การประเมิน เพิ่มความรู้เกี่ยวกับคุณประโยชน์ระบบนิเวศในพื้นที่เป้าหมายและวิเคราะห์ผลกระทบจากการพัฒนา เป็นกระบวนการสังคมที่รวบรวมความรู้จากหลายด้านเช่น การวิจัย และประสบการณ์ปฏิบัติงานในถ้องถิ่นเพื่อช่วยวิเคราะห์แผนและนโยบาย การประเมินคุณประโยชน์ของระบบนิเวศที่มีต่อการสร้างความอยู่ดีมีสุขมีแนวความคิดดังนี้

คุณประโยชน์ของระบบนิเวศ ระบบนิเวศให้ ผลผลิตเช่น น้ำตาล พลังงาน ข้างโพด ปลา ผลไม้ ฟืน ฯลฯ คุณประโยชน์อื่นๆ เช่น ป้องกันอุทกภัย กรองน้ำให้สะอาด ปรับสภาพที่ดิน ผสมเกสรดอกไม้ ฯลฯ

ขั้นตอน ขอนแก่น - การสนับสนุนอุตสาหกรรมเกษตรและผลกระทบที่เกิดกับดิน น้ำ และ ความอยู่ดีมีสุขของชุมชน สมุทรสงคราม – ผลกระทบของการปรับให้เป็นเมืองอุตสาหกรรมและการท่องเที่ยวแบบขนาดใหญ่ต่อระบบนิเวศทางน้ำและวัฒนธรรมของท้องถิ่น น่าน - การทำฟาร์มข้าวโพดบนพื้นที่สูง และ ผลอันเกิดจากความสูญเสียพื้นที่ป่าปกคลุม ซึ่งก่อให้เกิดคุณภาพน้ำที่ต่ำลงและส่งผลกระทบต่อสุขภาพ

ชนิดของบริการระบบนิเวศ แนวโน้มและสภาพ ชนิดของบริการระบบนิเวศ จังหวัดขอนแก่น จังหวัดน่าน จังหวัดสมุทรสงคราม แนวโน้มและสภาพบริการระบบนิเวศ ด้านการผลิตอาหารหรือเป็นแหล่งอาหาร (Provisioning) เพิ่มขึ้นโดยรวม แต่ศักยภาพของดินในการสนับสนุนบริการให้กว้างขวางขึ้นไม่เพียงพอ จำนวนปลาในแหล่งน้ำลดลง มีการลดลงของป่าไม้ ไม้ฟืนสำหรับเชื้อเพลิง สมุนไพร อาหารสัตว์ และน้ำสะอาด ประโยชน์จากบริการระบบนิเวศเพิ่มขึ้นบางพื้นที่แต่ไม่ใช้ทั้งหมด สายพันธุ์สัตว์น้ำจืดในระบบนิเวศมีจำนวนลดลง ด้านวัฒนธรรม (Cultural) ประโยชน์ที่ได้รับจากบริการระบบนิเวศเพิ่มมากขึ้น คุณประโยชน์ความงดงามของศิลปวัฒนธรรม และในการเป็นที่เคารพ สักการะลดลง ประโยชน์ที่ได้รับจากบริการระบบนิเวศเพิ่มขึ้น ด้านการกำกับควบคุมและเกื้อกูล สภาวะแวดล้อม (Regulating and Supporting) การเสื่อมของโครงสร้างดิน ความอุดมสมบูรณ์และการกักเก็บคาร์บอน มลพิษที่เพิ่มขึ้นจากการทำการเกษตรและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์กำลังเพิ่มการคุกคามคุณประโยชน์ต่อระบบนิเวศจากการทำอุตสาหกรรม บริการที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ต้นน้ำลดลง เช่น การควบคุมน้ำท่วม การทำให้น้ำสะอาด และการขัดขวางการกัดเซาะของดิน คุณภาพน้ำลดลง บ่งชี้ว่ากระแสน้ำที่ไหลเข้ามามีปริมาณมากเกินขีดความสามารถในการรักษาสัดส่วนที่เหมาะสม

ชนิดของบริการระบบนิเวศ แนวโน้มและสภาพ (ต่อ) ชนิดของบริการระบบนิเวศ จังหวัดขอนแก่น จังหวัดน่าน จังหวัดสมุทรสงคราม ความเชื่อมโยงสู่ความอยู่ดีมีสุขของชุมชน ความสัมพันธ์กันในชุมชน (Community Relations) เมื่อการบริการด้านวัฒนธรรมของระบบนิเวศมากขึ้น ความสัมพันธ์กันในชุมชนดีขึ้น การลดลงของบริการด้านควบคุมสภาพแวดล้อมเกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ทางสังคมที่แย่ลง ความสัมพันธ์อันดีในชุมชนสัมพันธ์กับจำนวนการใช้บริการระบบนิเวศด้านวัฒนธรรมและการควบคุมสภาวะแวดล้อม ความมั่นคงในการดำรงชีพ ครัวเรือนที่มีความยากจนใช้ระบบบริการนิเวศมากขึ้น ความเสียหายของการบริการระบบนิเวศบริเวณพื้นที่ต้นน้ำทำให้ความเสี่ยงจากอันตรายที่เกิดจากธรรมชาติเพิ่มขึ้น การลดลงของบริการด้านควบคุมสิ่งแวดล้อมทำให้ความมั่นคงในการดำรงชีพลดลง ความมั่นคงในการดำรงชีพที่ดีสัมพันธ์กับจำนวนการใช้บริการระบบนิเวศด้านวัฒนธรรมและการกำกับควบคุมสภาวะแวดล้อม การลดลงของจำนวนปลาและสัตว์น้ำจืดอื่นๆสร้างปัญหาให้กับครัวเรือน

บทเรียน (ตัวอย่าง ) แผนการดำเนินงาน   ทีมประเมินควรมีความสามารถทางด้านวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และมีคนที่รวบรวมความรู้จากหลากหลายวิชา ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในกระบวนการควรมีความเข้าใจชัดเจนเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของตน การติดต่อสื่อสารทำให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมั่นใจขอบเขต วัตถุประสงค์ และการสืบค้นจากการประเมิน การนำไปปฏิบัติ การประเมินนี้ต้องดำเนินการอย่างรอบคอบในเรื่องหลักฐานต่างๆที่เกี่ยวข้องกับทางวิทยาศาสตร์และการเฝ้าสังเกตการณ์ในพื้นที่จริง การพูดคุยถกเถียงกันกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับความอยู่ดีมีสุขของชุมชนมีความสำคัญ เพื่อจำแนกความแตกต่างและจัดลำดับความเข้าใจของประเด็นความอยู่ดีมีสุขของชุมชนที่เชื่อมโยงสู่การให้บริการทางระบบนิเวศ การเตรียมการล่วงหน้า อุปกรณ์อำนวยความสะดวกที่มีคุณภาพและการเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องมีความสำคัญสำหรับความสำเร็จในการสร้างภาพอนาคตอย่างมีส่วนร่วม การใช้ระยชน์อย่างต่อเนื่อง ทีมประเมินทางด้านเทคนิคควรมีการตอบสนองอย่างชัดเจนต่อผลสะท้อนกลับเพื่อให้สามารถตอบข้อซักถามต่างๆได้อย่างชัดเจน จำเป็นอย่างมากที่จะต้องมีการจัดสรรเวลาสำหรับการพูดคุยถกเถียงกันเกี่ยวกับเรื่องบริการระบบนิเวศกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่างกลุ่ม ต่างระดับ และต่างสถานที่

สรุป การประเมินทำให้ทราบข้อมูลเชิงประจักษ์เกี่ยวกับความเชื่อมโยงระหว่างความสำคัญของสิ่งแวดล้อมต่อชุมชนผู้มีรายได้น้อยซึ่งต้องพึ่งพาอาศัยทรัพยากรธรรมชาติในการดำรงชีพ ความเข้าใจถึงปัจจัยขับเคลื่อนที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงการใช้พื้นที่นำไปสู่การโต้แย้งถึงผลที่น่าจะเกิดตามมาในอนาคตสำหรับการให้บริการระบบนิเวศ ภาพอนาคตเปรียบเสมือนเครื่องมือใหม่สำหรับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหลาย ดังนั้น การฉายภาพอนาคตช่วยทำให้เกิดขั้นตอนที่เป็นระบบในการระดมความคิดเห็น และแนวทาง ความน่าจะเป็นในอนาคต อย่างมีหลักการ หลักเกณฑ์มากขึ้น ท่ามกลางปัจจัยผลักดันการเปลี่ยนแปลงที่ไม่แน่นอน การประเมิน SGA เน้นที่กระบวนการประเมินที่ผสมผสานกันระหว่างกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และกระบวนการทางสังคม ซึ่งเปิดโอกาสให้พรมแดนความรู้ทั้งสองส่วนมีการแลกเปลี่ยนและถ่ายเทระหว่างกันมากขึ้น