กลุ่มที่ ๔ “ รวมมิตรพิชิต ศูนย์ ” ® วิธีการ/แนวทางการ ปฏิบัติงาน และพัฒนาส่งเสริม การเกษตร ในระดับพื้นที่ร่วมกัน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กว่าจะมาเป็น … เครือข่าย
Advertisements

ระบบส่งเสริมการเกษตร
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
นโยบาย 1) มีระบบข้อมูลสุขภาพผู้ป่วยในพื้นที่ ที่เป็นปัจจุบัน และสามารถเชื่อมโยงระหว่าง รพ.สต.กับ รพ.แม่ข่ายได้ 2) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีการลงทะเบียนที่
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
สหกรณ์การเกษตรสามง่าม จำกัด
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
แผนปฏิบัติการยะลาเข้มแข็ง ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)
ผลการสัมมนากลุ่มย่อย
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
ตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค.
โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ ผ่านกลไกสถานบันศึกษา
เกษตรอินทรีย์ (Organic)
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
กลุ่ม ๓ ชื่อ กลุ่ม....สามซ่าๆๆ.
การปฏิบัติตามแนวทางถ่ายโอนภารกิจฯ จังหวัดเพชรบูรณ์ 1
กลุ่มที่ 1.
แนวทางการปฏิบัติงานและพัฒนาส่งเสริมการเกษตร ในระดับพื้นที่ร่วมกัน
ขั้นตอน/วิธีการปฏิบัติตามคู่มือสำนักงานคณะกรรมการกระจายอำนาจ ฯ
สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน
กลุ่มที่ 3 การทำงานร่วมกันระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กลุ่ม 3 ผู้นำเสนอ นายปรีชา คงเกลี้ยง เกษตรอำเภอเมืองชลบุรี
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
จุดอ่อน คณะกรรมการศูนย์ฯ ได้รับเบี้ยประชุมน้อย ขาดสวัสดิการ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายเพิ่มพูน มาประกอบ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลช้างทูน อำเภอบ่อ ไร่ จังหวัดตราด.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลโฆษิต อำเภอ ตากใบ จังหวัดนราธิวาส ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย วัฒนา แดงสุวรรณ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
ระบบส่งเสริมการเกษตร
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
การสัมมนากลุ่ม 3 ความสำเร็จในการจัดทำแผนงาน/โครงการ
ศูนย์ส่งเสริมวิศวกรรมเกษตรที่ ๑ จังหวัดชัยนาท
ระบบส่งเสริมการเกษตร
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน
โดย “กลุ่มที่ ๒... ฉลองชัย ”
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดกระบี่ (พืชสวน)
ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล
การดำเนินงาน และพัฒนายุวเกษตรกร
๑. ด้านบริหารจัดการสถานศึกษา
๓. ด้านการจัดกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน.
บริการตรวจวินิจฉัยศัตรูพืช
“ การตรวจราชการ บูรณาการเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพระบบบริหาร ”
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
เทศบาลตำบลบัลลังก์ จดหมายข่าว ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
การจัดตั้งสภาวัฒนธรรมตำบล
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
การขับเคลื่อนและติดตามการดำเนินงาน ตามมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ
ระบบส่งเสริมการเกษตร
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
Knowledge Management องค์ความรู้เรื่อง “ การส่งเสริมงานวิสาหกิจชุมชนของสำนักงาน เกษตรอำเภอเมืองราชบุรี ” ความสำคัญ ถอดองค์ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมงาน.
แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุของพัทลุง
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
การติดตามงานโครงการส่งเสริมการเกษตรครั้งที่ ๓ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔
ข้อที่ 7 ผลการดำเนินงานในรอบปีบัญชี สุดท้ายสหกรณ์ ต้องไม่กระทำการอัน เป็นการฝ่าฝืนกฏหมาย ระเบียบ คำสั่ง ปัญหา / สาเหตุ การ ป้องกั น แนว ทางแก้ ไข มาตรฐาน.
การวิจัย เป็น  กระบวนการ แสวงหา ความรู้ หรือ ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องของ ประเด็นปัญหาที่ต้องการ ศึกษา  เป็น ระบบ มีแบบแผนตาม แนวทางของ วิธีการทาง วิทยาศาสตร์
การขับเคลื่อนวาระแห่งชาติด้าน การสหกรณ์ จังหวัดสุรินทร์ วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมทองธารินทร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มที่ ๔ “ รวมมิตรพิชิต ศูนย์ ” ® วิธีการ/แนวทางการ ปฏิบัติงาน และพัฒนาส่งเสริม การเกษตร ในระดับพื้นที่ร่วมกัน

 แนวทางการปฏิบัติเหตุผลประกอบ ๑. ๑ นำเข้าที่ประชุม DM เพื่อออกแบบการจัดเก็บ ข้อมูล ด้านการเกษตร หรือประชุมเฉพาะกิจ โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในสังกัดกระทรวงเกษตร และสหกรณ์  เพื่อให้ทุกภาคส่วน มีส่วนร่วมในการออกแบบ ข้อมูลและจัดหาข้อมูล ให้มี แนวทางเดียวกัน เป็นที่ ยอมรับและน่าเชื่อถือ ๑. ๒ เชิญคณะกรรมการบริหาร ศบกต./ อปท. ร่วมประชุม เพื่อพิจารณาตรวจสอบ / กลั่นกรอง ข้อมูล ๑. ๓ เลขาฯ / ผู้ช่วยเลขาฯ ศูนย์ ร่วมจัดทำแบบ ๑. ข้อมูลด้าน การเกษตร

 แนวทางการปฏิบัติเหตุผลประกอบ ๑. ๔ การเก็บข้อมูล เช่น - การปรับปรุงข้อมูลเดิม - การจัดเก็บข้อมูลใหม่ โดยยึด ทบก. เป็นหลัก  เพื่อให้ทุกภาคส่วน มีส่วนร่วมในการออกแบบ ข้อมูลและจัดหาข้อมูล ให้มี แนวทางเดียวกัน เป็นที่ ยอมรับและน่าเชื่อถือ ๑. ๕ การนำเสนอข้อมูลในรูปแบบต่างๆ เช่น - เอกสาร ( แฟ้ม ) - สำรองข้อมูลใน Computer - ชุดนิทรรศการ ๑. ข้อมูลด้าน การเกษตร ( ต่อ )

 แนวทางการปฏิบัติเหตุผลประกอบ ๒. ๑ ถือปฏิบัติตามปฏิทินการจัดทำแผนของ อปท.  เพื่อให้แผนพัฒนา การเกษตรได้รับ การพิจารณา ๒. ๒ ทบทวนข้อมูลและพัฒนาแผนพัฒนาการเกษตร ๒. ๓ ประสาน อปท. ขอแบบฟอร์ม / รายละเอียดโครงการ ( หน้าที่ของเลขา / ผู้ช่วยเลขา ) ๒. แผนพัฒนาการเกษตร ระดับตำบล

 แนวทางการปฏิบัติเหตุผลประกอบ ๒. ๔ จัดทำแผนงาน / โครงการให้สอดคล้อง  เพื่อให้แผนพัฒนา การเกษตรได้รับ การพิจารณา ๒. ๕ นำเสนอ อปท. ๒. ๖ ประสานงาน / ติดตามความคืบหน้า โครงการ ( ผ่านเวทีชุมชน / สภาหรือไม่ ) ๒. ๗ ชี้แจงรายละเอียดแผนงาน / โครงการ ในสภา เพื่ออนุมัติงบประมาณ ๒. แผนพัฒนาการเกษตร ระดับตำบล ( ต่อ )

 แนวทางการปฏิบัติเหตุผลประกอบ ๓. ๑ เลขาฯ ศูนย์พัฒนาองค์ความรู้ ๓. ๒ บริหารจัดการ / ประสานงานผู้เชี่ยวชาญ ๓. ๓ ถ่ายทอดความตามแผนการถ่ายทอด ในแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบลหรือ ตาม ความต้องการสถานการณ์ปัจจุบัน โดยใช้ จุดสาธิต / จุดถ่ายทอด / ศูนย์เรียนรู้ ( ต้องการพัฒนา )  เพื่อถ่ายทอดความรู้ในการ แก้ปัญหาแก่เกษตรกรได้ ๓. การถ่ายทอด ความรู้

 แนวทางการปฏิบัติเหตุผลประกอบ ๔. ๑ กรณีที่ ศบกต. อยู่ในที่ทำการของ อปท. ควรกำหนดให้ผู้ช่วยเลขาฯ ทำหน้าที่แทนเลขาฯ ( นวส.) เพื่อรับเรื่องร้องเรียนและประสานงานเลขาฯ ในการดำเนินการต่อไป ๔. ๒ กรณีที่ ศบกต. อยู่นอก อปท. ให้จัดทำ ข้อตกลงกับคณะกรรมการบริหารศูนย์ เพื่อหมุนเวียน ประจำการที่ ศบกต. ๔. ๓ ผลักดันให้ ศบกต. มีชีวิต / กิจกรรมต่าง เช่น กองทุน การตลาด ฯลฯ  สามารถให้บริการ แก่เกษตรกรในระดับ พื้นที่ได้ ๔. การให้บริการด้าน การเกษตร

 แนวทางการปฏิบัติเหตุผลประกอบ ๔. ๔ ณ ที่ทำการของ ศบกต. ดำเนินการด้าน - ความรู้การเกษตร - สำรวจข้อมูล - วิเคราะห์ปัญหาการเกษตรเบื้องต้น เช่น วิเคราะห์ดิน โรคพืช ( คลินิกเกษตรเบื้องต้น.. แต่ ต้องประหยัด )  สามารถให้บริการ แก่เกษตรกรในระดับ พื้นที่ได้ ๔. การให้บริการด้าน การเกษตร ( ต่อ )

 แนวทางการปฏิบัติเหตุผลประกอบ  จัดกลุ่ม / องค์กร / สถาบันเกษตรกร เพื่อสร้างเครือข่ายในการพัฒนาอาชีพ การเกษตร  เพื่อสร้างความเข้มแข็ง ในการประกอบอาชีพของ เกษตรกร / ราษฎร ๕. การพัฒนาอาชีพการเกษตร ให้แก่เกษตรกร / ราษฎร

- ขอขอบคุ ณ -.. ..