กลุ่มที่ ๔ “ รวมมิตรพิชิต ศูนย์ ” ® วิธีการ/แนวทางการ ปฏิบัติงาน และพัฒนาส่งเสริม การเกษตร ในระดับพื้นที่ร่วมกัน
แนวทางการปฏิบัติเหตุผลประกอบ ๑. ๑ นำเข้าที่ประชุม DM เพื่อออกแบบการจัดเก็บ ข้อมูล ด้านการเกษตร หรือประชุมเฉพาะกิจ โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในสังกัดกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ เพื่อให้ทุกภาคส่วน มีส่วนร่วมในการออกแบบ ข้อมูลและจัดหาข้อมูล ให้มี แนวทางเดียวกัน เป็นที่ ยอมรับและน่าเชื่อถือ ๑. ๒ เชิญคณะกรรมการบริหาร ศบกต./ อปท. ร่วมประชุม เพื่อพิจารณาตรวจสอบ / กลั่นกรอง ข้อมูล ๑. ๓ เลขาฯ / ผู้ช่วยเลขาฯ ศูนย์ ร่วมจัดทำแบบ ๑. ข้อมูลด้าน การเกษตร
แนวทางการปฏิบัติเหตุผลประกอบ ๑. ๔ การเก็บข้อมูล เช่น - การปรับปรุงข้อมูลเดิม - การจัดเก็บข้อมูลใหม่ โดยยึด ทบก. เป็นหลัก เพื่อให้ทุกภาคส่วน มีส่วนร่วมในการออกแบบ ข้อมูลและจัดหาข้อมูล ให้มี แนวทางเดียวกัน เป็นที่ ยอมรับและน่าเชื่อถือ ๑. ๕ การนำเสนอข้อมูลในรูปแบบต่างๆ เช่น - เอกสาร ( แฟ้ม ) - สำรองข้อมูลใน Computer - ชุดนิทรรศการ ๑. ข้อมูลด้าน การเกษตร ( ต่อ )
แนวทางการปฏิบัติเหตุผลประกอบ ๒. ๑ ถือปฏิบัติตามปฏิทินการจัดทำแผนของ อปท. เพื่อให้แผนพัฒนา การเกษตรได้รับ การพิจารณา ๒. ๒ ทบทวนข้อมูลและพัฒนาแผนพัฒนาการเกษตร ๒. ๓ ประสาน อปท. ขอแบบฟอร์ม / รายละเอียดโครงการ ( หน้าที่ของเลขา / ผู้ช่วยเลขา ) ๒. แผนพัฒนาการเกษตร ระดับตำบล
แนวทางการปฏิบัติเหตุผลประกอบ ๒. ๔ จัดทำแผนงาน / โครงการให้สอดคล้อง เพื่อให้แผนพัฒนา การเกษตรได้รับ การพิจารณา ๒. ๕ นำเสนอ อปท. ๒. ๖ ประสานงาน / ติดตามความคืบหน้า โครงการ ( ผ่านเวทีชุมชน / สภาหรือไม่ ) ๒. ๗ ชี้แจงรายละเอียดแผนงาน / โครงการ ในสภา เพื่ออนุมัติงบประมาณ ๒. แผนพัฒนาการเกษตร ระดับตำบล ( ต่อ )
แนวทางการปฏิบัติเหตุผลประกอบ ๓. ๑ เลขาฯ ศูนย์พัฒนาองค์ความรู้ ๓. ๒ บริหารจัดการ / ประสานงานผู้เชี่ยวชาญ ๓. ๓ ถ่ายทอดความตามแผนการถ่ายทอด ในแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบลหรือ ตาม ความต้องการสถานการณ์ปัจจุบัน โดยใช้ จุดสาธิต / จุดถ่ายทอด / ศูนย์เรียนรู้ ( ต้องการพัฒนา ) เพื่อถ่ายทอดความรู้ในการ แก้ปัญหาแก่เกษตรกรได้ ๓. การถ่ายทอด ความรู้
แนวทางการปฏิบัติเหตุผลประกอบ ๔. ๑ กรณีที่ ศบกต. อยู่ในที่ทำการของ อปท. ควรกำหนดให้ผู้ช่วยเลขาฯ ทำหน้าที่แทนเลขาฯ ( นวส.) เพื่อรับเรื่องร้องเรียนและประสานงานเลขาฯ ในการดำเนินการต่อไป ๔. ๒ กรณีที่ ศบกต. อยู่นอก อปท. ให้จัดทำ ข้อตกลงกับคณะกรรมการบริหารศูนย์ เพื่อหมุนเวียน ประจำการที่ ศบกต. ๔. ๓ ผลักดันให้ ศบกต. มีชีวิต / กิจกรรมต่าง เช่น กองทุน การตลาด ฯลฯ สามารถให้บริการ แก่เกษตรกรในระดับ พื้นที่ได้ ๔. การให้บริการด้าน การเกษตร
แนวทางการปฏิบัติเหตุผลประกอบ ๔. ๔ ณ ที่ทำการของ ศบกต. ดำเนินการด้าน - ความรู้การเกษตร - สำรวจข้อมูล - วิเคราะห์ปัญหาการเกษตรเบื้องต้น เช่น วิเคราะห์ดิน โรคพืช ( คลินิกเกษตรเบื้องต้น.. แต่ ต้องประหยัด ) สามารถให้บริการ แก่เกษตรกรในระดับ พื้นที่ได้ ๔. การให้บริการด้าน การเกษตร ( ต่อ )
แนวทางการปฏิบัติเหตุผลประกอบ จัดกลุ่ม / องค์กร / สถาบันเกษตรกร เพื่อสร้างเครือข่ายในการพัฒนาอาชีพ การเกษตร เพื่อสร้างความเข้มแข็ง ในการประกอบอาชีพของ เกษตรกร / ราษฎร ๕. การพัฒนาอาชีพการเกษตร ให้แก่เกษตรกร / ราษฎร
- ขอขอบคุ ณ -.. ..