โครงการแก้ปัญหาภัยพิบัติโดยชุมชน บ้านห้วยลากปืนใน ต. ห้วยไร่ อ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ให้ไว้ ณ วันที่ 10 กรกฎาคม 2556
Advertisements

ลักษณะการประสบภัย น้ำหลาก / น้ำป่า – แรง เร็ว ใช้เวลาไม่นาน
ทฤษฎีใหม่.
การประชุมแผนแม่บทพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน 31 มีนาคม 2553 ณ ลานทองอุทยานวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง แผนพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน.
เศรษฐกิจ พอเพียง.
“แนวทางในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ”
(Landslide or Mass movement)
ยุทธศาสตร์พัฒนาลุ่มน้ำยม
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
Global warming สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
ความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์
เศรษฐกิจพอเพียง.
รูปแบบการดำเนินกิจกรรมฟื้นฟูหลังน้ำท่วม
หากไม่มีการช่วยกันแก้ไขปัญหาโลกร้อนในวันนี้ ในอนาคตจะส่งผลกระทบต่อประเทศไทยอย่างไร 1. ทำให้ฤดูกาลของฝนเปลี่ยนแปลงไป กระบวนการระเหยและการกลั่นตัวจะเร็วขึ้น.
เกษตรตามแนว ทฤษฏีใหม่
คลื่นพายุซัดชายฝั่ง กลุ่มที่6.
รายงาน เรื่อง ดินถล่ม เสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี.
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
โครงการ “การวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสงครามโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน ปี 2552
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโลก
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับการตัดไม้ทำลายป่า และการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้
มลพิษทางอากาศ โชคชัย บุตรครุธ.
วิกฤตการณ์ทรัพยากรป่าไม้ในประเทศไทย
การใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
Demonstration School University of Phayao
การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของ พืชวงศ์ขิงในภูวังงาม จังหวัดอุดรธานี
พระธาตุพนมค่าล้ำ วัฒนธรรมหลากหลาย เรณูภูไท เรือไฟโสภา งามตาฝั่งโขง.
สถานการณ์ แนวโน้มและผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
นำเสนอโดย น.ส. วิไล เดชตุ้ม
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
ของฝากจากอาจารย์อ้อชุดที่28
ของฝากจากอาจารย์อ้อ ชุดที่ 30
แผนปฏิบัติการยะลาเข้มแข็ง ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
การบรรยายสรุป การสำรวจพื้นที่เพื่อจัดทำ และสนับสนุนโครงการนำร่อง: บ้านอมแรด อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ 13 สิงหาคม 2552.
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
แผนพัฒนาระบบข้อมูล การจัดทำรายงาน และแผนการสนับสนุน.
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ โครงการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากร สนับสนุนการติดตามประเมินผลการดำเนินงานของกรมทรัพยากรน้ำ ”
สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
ดอนหอยหลอด (Don Hoi Lot).
กระบวนการการทำงานชุมชน
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
สรุปเนื้อหาสาระ ภูมิศาสตร์
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ดินถล่ม.
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
นโยบายการดำเนินงานที่สำคัญ ของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ในปีงบประมาณ พ.ศ.2558
การศึกษาวิจัย เรื่อง ผู้วิจัย นายอภิวิชญ์ ปีนัง
นายกรัฐมนตรี กรณีเกิดสาธารณภัยร้ายแรงอย่างยิ่ง (ความรุนแรงระดับ 4)
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
สำรวจสภาพปัญหาและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
ชุมชนเข้มแข็ง ด้านการ เตรียมพร้อมป้องกันภัยธรรมชาติ
การบรรยายสรุป การสำรวจพื้นที่เพื่อจัดทำ และสนับสนุนโครงการนำ ร่อง : บ้านผาปูน อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ กนก ฤกษ์เกษม และนริศ ยิ้มแย้ม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ภัยธรรมชาติ ที่เกิดขึ้นในจังหวัดน่าน
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
การจัดทำแผนชุมชน.
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
วันรับรางวัล อสม.ดีเด่นระดับชาติประจำปี 2553 ณ หอประชุมเจ้าพระยา กองทัพเรือ กรุงเทพฯ วันที่ 24 มิถุนายน 2553.
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการแก้ปัญหาภัยพิบัติโดยชุมชน บ้านห้วยลากปืนใน ต. ห้วยไร่ อ โครงการแก้ปัญหาภัยพิบัติโดยชุมชน บ้านห้วยลากปืนใน ต.ห้วยไร่ อ.เด่นชัย จ.แพร่ ความเป็นมา แพร่เป็นเขตป่าต้นน้ำสำคัญของประเทศ สภาพภูมิประเทศเป็นเทือกเขาสูง สลับซับซ้อน จากสภาวะโลกร้อน ส่งผลให้แพร่กลายเป็นพื้นที่เสี่ยงภัยธรรมชาติ ในอัตราสูงแห่งหนึ่งของประเทศ เกิดพายุฤดูร้อนต่อเนื่องทุกปีและทวีความรุนแรงมากขึ้น ในขณะเดียวกันปัญหาความแห้งแล้งที่เกิดขึ้นทำให้ปัญหาไฟป่ากำลังส่งผลต่อสภาวะในอากาศอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ และจากสถิติพบว่าปัญหาน้ำป่าก็รุนแรงหนักเช่นกัน ในปี 2544 น้ำป่าทำลายบ้านเรือนผู้คนใน 3 ตำบลของอำเภอวังชิ้น ที่ลุ่มน้ำสรอยและลุ่มน้ำแม่พุง มีผู้เสียชีวิตภายในคืนเดียวพร้อมกันถึง 40 ราย ปี 2549 เกิดน้ำป่ารุนแรงขึ้นอีกในเทือกเขารอยต่อแพร่อุตรดิตถ์ จังหวัดแพร่ได้รับผลกระทบถึง 3 อำเภอคือ อ.เด่นชัย อ.สูงเม่น และ อ.เมืองแพร่ และจากนี้ไป ไม่มีใครยืนยันได้ว่า ภัยพิบัติจะไม่เกิดขึ้นในจังหวัดแพร่อีก และปัญหานี้ประชาชนกำลังให้ความสำคัญ

จุดเริ่มต้น โครงการฟื้นฟูภัยพิบัติโดยชุมชนบ้านห้วยลากปืน ปี 2549 ชาวบ้านต้องเผชิญกับปัญหาน้ำป่ารุนแรง ส่งผลกระทบหลายด้าน การช่วยเหลือภัยพิบัติจากทางการไม่ตรงความต้องการ ในขณะที่การใช้ทรัพยากร ของชาวบ้านและราชการ ไม่รับผิดชอบต่อธรรมชาติ ปัญหาพืชผลเกษตรที่ประสบสภาวะขาดทุน ชุมชนยังคิดเรื่องการอยู่อย่างพอเพียง ไม่ติดไปทำงานต่างพื้นที่และอยู่กับดินน้ำป่าบ้านของตนเอง

เกิดเวทีชาวบ้าน สรุปบทเรียนประเมินสถานการณ์ในพื้นที่หาทางออก ชาวบ้านพบหลายประเด็นน่าสนใจ จากประวัติของชุมชน -ชาวบ้านอยู่มานานก่อนกบฏเงี้ยวปล้นเมืองแพร่ อาศัยป่ายังชีพ -ป่าไม้ในอดีตให้ความชุ่มชื้นตลอดทั้งปี ไม่แห้งแล้ง -ป่าให้ปัจจัย 4 กับชุมชนได้ใช้อย่างเพียงพอ -ชาวบ้านเชื่อว่าป่ามี “ผี” ดูแลไม่ลบหลู่

สิ่งที่ได้จากเวทีเกิดการค้นหาความจริง ศึกษาพื้นที่เสี่ยงภัยในชุมชน พบพื้นที่ดินถล่มมากกว่า 20 แห่งในลำห้วยลากปืน พบป่าไม้สักของ ออป.ต้นเหตุดินพังทลาย พบชาวบ้านไม่ให้ความสำคัญกับลำห้วย สร้างขยะในลำห้วย พบว่าพืชเชิงเดี่ยวของชาวบ้านก็คือตัวทำให้ดินพังทลายเร็วขึ้น ค้นหาคนทำงานและปราชญ์ของชุมชน ผู้นำทางพิธีกรรม หมอพื้นบ้าน ได้ผู้นำในระบบ ผญบ. อบต. กำนัน พระสงฆ์ ที่มีใจ ได้ผู้นำธรรมชาติ หมอพื้นบ้าน ปราชญ์ชาวบ้าน

สิ่งที่ได้จากเวทีเกิดการค้นหาความจริง ร่วมสำรวจป่าหาสาเหตุสำคัญ ในการแก้ปัญหาและต้นเหตุของปัญหา ได้หมอพื้นบ้านเป็นผู้รู้ในการนำสำรวจไปตามเส้นทางหาสมุนไพร ได้ชุดความรู้การเฝ้าระวังภัยพิบัติ ด้วยการดูต้นไม้ และสัตว์ป่า เกิดสำนึกรักป่า ชาวบ้านหันมาฟื้นฟูการใช้สมุนไพรในการรักษาโรค พบพืชพันธุ์ท้องถิ่นหลายชนิดลดลงไปเกิดการเพาะพันธุ์พืชท้องถิ่นคืนป่า

สิ่งที่ได้จากเวทีเกิดการค้นหาความจริง สำรวจชุมชน ที่อยู่อาศัย ที่ปลอดภัย เก็บข้อมูล ทำฐานข้อมูลชุมชน ที่อยู่อาศัย พื้นที่เกษตร สิ่งสาธารณะประโยชน์ กำหนดจุดปลอดภัย ฝึกอาสาสมัคร และ ฝืกเตือนภัย เกิดกองทุน (ยังไม่ชัด)

สิ่งที่ได้จากการทำงานในรอบ 1 ปี พบชุมชนมีการเฝ้าระวังโดยวัฒนธรรม การดูต้นไม้ สัตว์ป่า พยากรณ์อากาศ การตั้งถิ่นฐานที่อยู่ไม่รุกล้ำที่ลุ่ม หมอยามีวิธีรักษาป่าและเข้าใจนิเวศน์ของป่ามากกว่าหน่วยงานรัฐ

ยกระดับชุมชนห้วยลากปืนสู่ลุ่มน้ำแม่พวก นำแนวคิดของห้วยลากปืน สู่การฟื้นฟูร่วมกันในลุ่มน้ำ ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ