จริยธรรมข้าราชการพลเรือน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
(กำหนดขึ้นโดยสำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน)
Advertisements

หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติการยืมเงินทดรองจ่ายเงินรายได้
การเมืองและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ความหมายของประชาธิปไตย
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
การจัดทำจรรยาข้าราชการ
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
“คุณธรรม” และ “จริยธรรม”
จริยธรรมข้าราชการพลเรือน
พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต พ.ศ.2542
เกี่ยวกับการเงินและการพัสดุ
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
นางสาวรัชดา สุทธิวรวุฒิกุล
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
ประเด็นบรรยาย เรื่อง บทบาทและอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย ของผู้ตรวจการสหกรณ์
หน้าที่ของสมาชิกสหกรณ์
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
จรรยาบรรณวิชาชีพ.
แนวปฏิบัติ การขอกำหนดตำแหน่งให้สูงขึ้น ของบุคลากรสายปฏิบัติการ
นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์
การร่างกฎหมาย การให้ความเห็นทางกฎหมาย และการดำเนินคดีปกครอง
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
คำอธิบาย พิจารณาจากระดับความสำเร็จของการดำเนินการ
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
การนำนโยบายจรรยาบรรณ ลงสู่การปฏิบัติในระดับคณะ/หน่วยงาน
พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.​ ๒๕๕๑
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
Good Corporate Governance
ยินดีต้อนรับผู้เข้าสัมมนาทุกท่าน
แนะนำศูนย์ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ
ค่าใช้จ่ายในการจ้างเอกชนดำเนินงาน
ภาพแสดงกรอบการปฏิบัติงานการตรวจสอบภายใน
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ. ...
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การมีส่วนร่วมของประชาชน ในการบริหารราชการ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
ของข้าราชการตำรวจ บก.อก.บช.ศ.
มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม ของ ผู้ตรวจราชการและหน่วยงานที่รับการตรวจราชการ สุรศักดิ์ แสงอร่าม รองเลขาธิการ ส.ป.ก. 21 ต.ค
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
K M กจ. ประจำเดือนมีนาคม 2551
การเผยแพร่องค์ความรู้เรื่อง “รู้ทันนวัตกรรมคอร์รัปชัน”””
การพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน/ ค่าจ้างประจำ
สภาพปัญหาการรักษาคุณธรรม จริยธรรมในภาครัฐ
ความคาดหวังของการส่งเสริมวินัยและจริยธรรมข้าราชการ กรมอนามัย
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ ก. พ
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
บทบาทหน้าที่ และคุณลักษณะ ของผู้ติดตามตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษา
การสั่งการและ การมอบหมายงาน
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
กลุ่มพัฒนา ระบบบริหาร กรมการข้าว. พระราชบัญญัติข้อมูล ข่าวสารของราชการ พ.ศ ประชาธิ ปไตย ปกปัก รักษา ประโยช น์ คุ้มครอ งสิทธิ ส่วน บุคคล.
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหา
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
จรรยาบรรณ นางสาวสมลักษณ์ ลวดเงิน พนักงานพัฒนากองทุนหมู่บ้าน
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
จัดทำโดย ชื่อนายฤทธิ์รงค์ ลิ้มม่วงนิล ช่างยนต์ ปวช.1 เลขที่19
ผู้ร่วมงาน ๑. นายชัยเดช แสงทองฟ้า. เลขที่ ๒ ๒. นายวสันต์ เสริฐศรี
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวก ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จริยธรรมข้าราชการพลเรือน ประมวล จริยธรรมข้าราชการพลเรือน

สภาพปัญหาการรักษาคุณธรรม จริยธรรมในภาครัฐ 1. การใช้อำนาจหน้าที่ตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ ของรัฐในทางที่ผิด หลีกเลี่ยงการบังคับใช้กฎหมาย และแสวงหาประโยชน์ให้ตนเองและพวงพ้อง 2. ความบกพร่องด้านคุณธรรมจริยธรรมของ เจ้าหน้าที่ของรัฐ 3. วัฒนธรรม ทัศนคติ และค่านิยม ที่หล่อหลอม ให้เกิดกระบวนทัศน์ไม่ถูกต้อง 4. เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ที่มีลักษณะ อุปถัมภ์ หรือการผูกขาดหรือการแทรกแซง 5. การกำกับดูแลและการดำเนินการด้านการ บริหารงานบุคคลของส่วนราชการ 2

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 279 มาตรฐานทางจริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่ง ทางการเมือง ข้าราชการ หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ แต่ละประเภท ให้เป็นไปตามประมวลจริยธรรมที่กำหนดขึ้น ....... จะต้องมีกลไกและระบบในการดำเนินงานเพื่อให้ การบังคับใช้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งกำหนด ขั้นตอนการลงโทษตามความร้ายแรงแห่งการกระทำ ....... การฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรม ให้ถือว่าเป็นการกระทำผิดทางวินัย 3

ประมวลจริยธรรม ประมวล = - รวบรวมให้เข้าระเบียบเป็นหมวดหมู่ ประมวล = - รวบรวมให้เข้าระเบียบเป็นหมวดหมู่ - หนังสือที่รวบรวมสิ่งซึ่งเป็นประเภท เดียวกัน เช่น ประมวลกฎหมาย จริย = ความประพฤติ กิริยาที่ควรประพฤติ จริยธรรม = ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ 4

ศักดิ์ศรี + ประสิทธิผล จริยธรรม ในทางศาสนา ในการประกอบวิชาชีพ ในการทำงาน ปทัสถาน ศีลธรรม จรรยาบรรณ วินัย ประกาศิต ควร พึง ต้อง พฤติกรรม คุณธรรม จรรยา วินัย จุดมุ่งหมาย เพื่อคน เพื่อคน + งาน เพื่องาน ผล ดี ศักดิ์ศรี + ประสิทธิผล ประสิทธิผล 5 5

ศีล ข้อบัญญัติที่กำหนดทางปฏิบัติกาย และวาจา ศีล ข้อบัญญัติที่กำหนดทางปฏิบัติกาย และวาจา ธรรม คุณความดี คำสั่งสอนทางศาสนา ศีลธรรม ความประพฤติที่ดีที่ชอบ 6

ธรรมะสำหรับข้าราชการ ปัญญา การรู้เท่าทัน วิริยะ ความขยัน อุตสาหะ อนวัชชะ ความซื่อสัตย์สุจริต สังคหะวัตถุ มนุษยสัมพันธ์ 7

จรรยาข้าราชการ หลักความประพฤติอันเหมาะสม แสดงถึง คุณธรรมและจริยธรรม เป็นจริยธรรมในการ ประกอบอาชีพที่เป็นกลุ่มบุคคล แต่ละวิชาชีพ ประมวลขึ้นไว้เป็นหลักเพื่อให้สมาชิกในสาขา วิชาชีพนั้น ๆ ยึดถือปฏิบัติ 8

จรรยาข้าราชการ การยึดมั่นและยืนหยัดทำในสิ่งที่ถูกต้อง ความซื่อสัตย์สุจริตและความรับผิดชอบ การปฏิบัติหน้าที่ด้วยความโปร่งใส และสามารถ ตรวจสอบได้ การปฏิบัติหน้าที่โดยไม่เลือกปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม การมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน (มาตรา 78 แห่ง พรบ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน) 9 9

วินัย - แบบแผนความประพฤติหรือข้อปฏิบัติ - ลักษณะเชิงพฤติกรรมที่แสดงออกมาว่า สามารถควบคุมตนเอง ปฏิบัติตามการนำของ ผู้บังคับบัญชา อยู่ในระเบียบแบบแผน 10

The 2008-2009 Corruption Perceptions Index (CPI) 2008 2009 By Transparency International (TI) 2008 2009 Rank Country Point 4 18 47 72 Singapore Japan Malaysia China 9.2 7.3 5.1 3.6 3 17 56 79 9.7 4.5 80 Thailand 3.5 84 3.4 121 126 141 Vietnam Indonesia Philippines 2.7 2.6 2.3 120 111 139 2.8 2.4 11

The Corruption Perceptions Index (CPI) by TI THAILAND RANK Year CPI Rank Coverage (countries) 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 3.20 3.30 3.60 3.80 3.50 3.40 64 70 59 63 84 80 102 133 146 158 163 179 180 12

ค่านิยมหลักของมาตรฐานจริยธรรมสำหรับ ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ 9 ประการ ของสำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน 1. การยึดมั่นในคุณธรรมและจริยธรรม 2. การมีจิตสำนึกที่ดี ซื่อสัตย์ สุจริต และรับผิดชอบ 3. การยึดถือประโยชน์ของประเทศชาติเหนือกว่า ประโยชน์ส่วนตน และไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อน 4. การยืนหยัดทำในสิ่งที่ถูกต้อง เป็นธรรม และ ถูกกฎหมาย 13

5. การให้บริการแก่ประชาชนด้วยความรวดเร็ว มีอัธยาศัย และไม่เลือกปฏิบัติ 6. การให้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชนอย่างครบถ้วน ถูกต้อง และไม่บิดเบือนข้อเท็จจริง 7. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน รักษามาตรฐาน มีคุณภาพ โปร่งใส และตรวจสอบได้ 8. การยึดมั่นในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 9. การยึดมั่นในหลักจรรยาวิชาชีพขององค์กร 14

จริยธรรมข้าราชการ 1. ข้าราชการต้องยึดมั่นในจริยธรรมและยืนหยัด 1. ข้าราชการต้องยึดมั่นในจริยธรรมและยืนหยัด กระทำในสิ่งที่ถูกต้องและเป็นธรรม (ข้อ 3) (1) ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมอย่างตรงไปตรงมา และ ไม่กระทำการหลีกเลี่ยงประมวลจริยธรรมนี้ (2) เมื่อรู้หรือพบการฝ่าฝืน ต้องรายงานต่อหัวหน้าส่วนราชการ หรือคณะกรรมการจริยธรรมโดยพลัน 15

1 (ต่อ) (3) ต้องรายงานการดำรงตำแหน่งในนิติบุคคล ซึ่งมิใช่ ส่วนราชการฯ ในกรณีที่อาจขัดแย้งกับการปฏิบัติหน้าที่ หรืออาจทำให้การปฏิบัติหน้าที่เสียหาย (4) ร่วมประชุมแล้วพบว่า มีการฝ่าฝืนประมวลจริยธรรม หรือมีการเสนอเรื่องผ่านตน ต้องคัดค้านการกระทำ ดังกล่าว และบันทึกไว้ในรายงานการประชุม 16

2. ข้าราชการต้องมีจิตสำนึกที่ดีและรับผิดชอบต่อหน้าที่ เสียสละ ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรวดเร็ว โปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ (ข้อ 4) (1) อุทิศตนให้กับการปฏิบัติงานในหน้าที่ด้วยความรอบคอบ ระมัดระวัง เต็มกำลังความสามารถ (2) ไม่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อตำแหน่งหน้าที่ของตนหรือ ข้าราชการอื่น ไม่ก้าวก่ายหรือแทรกแซงการปฏิบัติหน้าที่ ของข้าราชการอื่นโดยมิชอบ (3) ใช้ดุลพินิจและตัดสินใจ ด้วยความรู้ความสามารถเยี่ยง ที่ปฏิบัติในวิชาชีพ ตรงไปตรงมา ปราศจากอคติ ตาม ข้อมูลพยานหลักฐานและความเหมาะสม 17

2 (ต่อ) (4) เมื่อเกิดความผิดพลาดขึ้น ต้องรีบแก้ไขให้ถูกต้อง และแจ้งให้หัวหน้าส่วนราชการทราบโดยพลัน (5) ไม่ขัดขวางการตรวจสอบของหน่วยงานที่มีหน้าที่ ตรวจสอบตามกฎหมายหรือประชาชน ให้ความร่วมมือ (6) ไม่สั่งการด้วยวาจาในเรื่องที่อาจก่อให้เกิดความเสียหาย แก่ราชการ ในกรณีสั่งการด้วยวาจาดังกล่าว ให้ผู้ใต้บังคับบัญชาบันทึกเรื่องเป็นลายลักษณ์อักษรตามคำสั่ง เพื่อให้ผู้สั่งพิจารณาสั่งการต่อไป 18

3. ข้าราชการต้องแยกเรื่องส่วนตัวออกจากตำแหน่งหน้าที่และยึดถือประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชาติเหนือกว่าประโยชน์ส่วนตน (ข้อ 5) (1) ไม่นำความสัมพันธ์ส่วนตัวที่ตนมีต่อบุคคลอื่นมา ประกอบการใช้ดุลพินิจให้เป็นคุณหรือโทษต่อบุคคลอื่น (2) ไม่ใช้เวลาราชการ เงิน ทรัพย์สิน บุคลากร บริการ หรือ สิ่งอำนวยความสะดวกของทางราชการไปเป็นประโยชน์ ส่วนตัวของตนหรือผู้อื่น 19

3 (ต่อ) (3) ไม่กระทำการใด หรือดำรงตำแหน่ง หรือปฏิบัติการใด ในฐานะส่วนตัว ก่อให้เกิดความเคลือบแคลงหรือสงสัย ว่าจะขัดกับประโยชน์ส่วนรวมที่อยู่ในความรับผิดชอบ ของหน้าที่ (4) ในการปฏิบัติหน้าที่ที่รับผิดชอบในหน่วยงานโดยตรง หรือหน้าที่อื่น ต้องยึดถือประโยชน์ของทางราชการ เป็นหลัก 20

4. ข้าราชการต้องละเว้นจากการแสวงหาประโยชน์ที่ มิชอบ โดยอาศัยตำแหน่งหน้าที่ และไม่กระทำการ อันเป็นการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม (ข้อ 6) 21

Conflict Of Interest ความขัดแย้งกันของผลประโยชน์ส่วนตน มีตำแหน่ง ทางราชการ หรือสาธารณะ มีผลประโยชน์ ส่วนตัว “การทับซ้อนของ ประโยชน์ส่วนตัว และประโยชน์ส่วนรวม” “สถานการณ์ซึ่งบุคคลมี ผลประโยชน์ส่วนตัวมากเพียงพอที่จะมี “อิทธิพล” ต่อการ ปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่ง และส่งผลกระทบ ต่อประโยชน์ส่วนรวม” แทรกแซงการใช้ ดุลยพินิจอย่างเป็นกลาง “การขัดกันแห่งผลประโยชน์” “สถานการณ์ซึ่งบุคคลใช้อำนาจหน้าที่ในทางที่เป็น ประโยชน์ต่อตัวเอง” 22

(1) ไม่เรียก รับ หรือยอมจะรับ หรือยอมให้บุคคลอื่นเรียก รับหรือยอมรับ ซึ่งของขวัญแทนตนหรือญาติของตน ไม่ว่าก่อนหรือหลังดำรงตำแหน่งหรือปฏิบัติหน้าที่ ไม่ว่า จะเกี่ยวข้องหรือไม่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่หรือไม่ ก็ตาม เว้นแต่เป็นการให้โดยธรรมจรรยา หรือเป็นการให้ ตามประเพณีหรือให้แก่บุคคลทั่วไป 23

4 (ต่อ) (2) ไม่ใช้ตำแหน่ง หรือกระทำการที่เป็นคุณ หรือเป็นโทษ แก่บุคคลใด เพราะมีอคติ (3) ไม่เสนอ หรืออนุมัติโครงการ การดำเนินการ หรือการ กระทำนิติกรรมหรือสัญญา ซึ่งตนเองหรือบุคคลอื่น จะได้ประโยชน์อันมิควรได้ โดยชอบด้วยกฎหมายหรือ ประมวลจริยธรรมนี้ 24

ความขัดแย้งกันของผลประโยชน์ส่วนตน และผลประโยชน์ส่วนรวม (Conflict of Interest) การรับผลประโยชน์ต่าง ๆ (Accepting Benefits) รับของขวัญ/เงินสนับสนุน/ เงินบริจาคจากลูกค้าของหน่วยงาน การทำธุรกิจกับตัวเอง (Self – Dealing) หรือเป็นคู่สัญญา (Contracts) มีส่วนได้เสียในสัญญา ที่ทำกับหน่วยงานต้นสังกัด ลาออกจากหน่วยงานเพื่อไป ทำงานในหน่วยงานที่ดำเนินธุรกิจประเภทเดียวกัน การทำงานหลังออกจากตำแหน่งหน้าที่สาธารณะ หรือหลังเกษียณ (Post – Employment) 25

ความขัดแย้งกันของผลประโยชน์ส่วนตน และผลประโยชน์ส่วนรวม (Conflict of Interest) การทำงานพิเศษ (Outside Employment or Moonlighting) ตั้งบริษัทดำเนินธุรกิจที่แข่งขันหรือรับงานจากหน่วยงานต้นสังกัด การรู้ข้อมูลภายใน (Inside Information) ใช้ประโยชน์จากข้อมูลภายใน เพื่อประโยชน์ของตนเอง การใช้สมบัติของหน่วยงานเพื่อ ประโยชน์ส่วนตัว (Using Employer’s Property for Private Usage) นำทรัพย์สินของหน่วยงานไปใช้ ในงานส่วนตัว รมต. อนุมัติโครงการไปลงในพื้นที่ตนเอง หรือใช้งบสาธารณะ เพื่อหาเสียง การนำโครงการสาธารณะลงในเขตเลือกตั้ง เพื่อประโยชน์ทางการเมือง 07/06/53 26

5. ข้าราชการต้องเคารพและปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญและกฎหมายอย่างตรงไปตรงมา (ข้อ 7) (1) ไม่ละเมิดรัฐธรรมนูญ กฎหมาย กฎ ข้อบังคับ หรือมติ คณะรัฐมนตรีที่ชอบด้วยกฎหมาย (2) ในกรณีที่เห็นว่าคำสั่งผู้บังคับบัญชา หรือการดำเนินการ ใดที่ตนมีส่วนเกี่ยวข้องไม่ชอบ ต้องทักท้วงเป็นลายลักษณ์ อักษรไว้ (3) ถ้าเห็นว่ามติคณะรัฐมนตรีไม่ชอบด้วยกฎหมายต้องทำ เรื่องเสนอหัวหน้าส่วนราชการพิจารณา และส่งเรื่องให้ สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีดำเนินการให้ได้ข้อยุติ ตามกฎหมาย 27

5 (ต่อ) (4) ไม่หลีกเลี่ยงกฎหมาย ใช้หรือแนะนำให้ใช้ช่องว่างของ กฎหมายที่อยู่ในความรับผิดชอบของตน เพื่อประโยชน์ ของตนเองหรือผู้อื่น และต้องเร่งแก้ไขช่องว่างดังกล่าว โดยเร็ว (5) ไม่ยอมให้บุคคลอื่นอาศัยชื่อตนเอง หรือครอบครอง ทรัพย์สิน สิทธิหรือประโยชน์อื่นใดแทนบุคคลอื่น อันเป็นการเลี่ยงกฎหมาย หรือใช้ชื่อบุคคลอื่นถือครอง สิ่งดังกล่าวแทนตน หรือปกปิดทรัพย์สินของตน 28

5 (ต่อ) (6) เมื่อทราบว่ามีการละเมิดหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมายใน ส่วนราชการของตน หัวหน้าส่วนราชการต้องดำเนินการ ที่จำเป็น เพื่อให้เกิดการเคารพกฎหมายขึ้นโดยเร็ว (7) เมื่อได้รับคำร้องหรือคำแนะนำจากผู้ตรวจการแผ่นดิน หรือหน่วยงานอื่นว่ากฎหมาย กฎ หรือข้อบังคับ ที่อยู่ใน ความรับผิดชอบของส่วนราชการของตน สร้างภาระเกิน สมควรแก่ประชาชน หรือสร้างความไม่เป็นธรรมให้เกิดขึ้น ต้องดำเนินการทบทวนกฎหมาย กฎ หรือข้อบังคับดังกล่าว โดยเร็ว 29

6. ข้าราชการต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความเที่ยงธรรม เป็นกลางทางการเมือง ให้บริการแก่ประชาชน โดยมีอัธยาศัยที่ดี และไม่เลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม (ข้อ 8) (1) ปฏิบัติหน้าที่ให้ลุล่วง โดยไม่หลีกเลี่ยง ละเลย หรือละเว้น การใช้อำนาจเกินกว่าที่มีอยู่ตามกฎหมาย (2) ปฎิบัติหน้าที่หรือดำเนินการอื่น โดยคำนึงถึงศักดิ์ศรี ความเป็นมนุษย์ และสิทธิเสรีภาพของบุคคล ไม่กระทำการ ให้กระทบสิทธิเสรีภาพของบุคคล หรือก่อภาระหรือ หน้าที่ให้บุคคลโดยไม่มีอำนาจตามกฎหมาย (3) ให้บริการและอำนวยความสะดวกแก่ประชาชน โดยมี อัธยาศัยที่ดี ปราศจากอคติ และไม่เลือกปฎิบัติต่อบุคคล ผู้มาติดต่อโดยไม่เป็นธรรม 30

6 (ต่อ) (4) ละเว้นการให้สัมภาษณ์ การอภิปราย การแสดงปาฐกถา การบรรยาย หรือการวิพากษ์วิจารณ์อันกระทบต่อความ เป็นกลางทางการเมือง เว้นแต่เป็นการแสดงความเห็น ทางวิชาการตามหลักวิชา (5) ไม่เอื้อประโยชน์เป็นพิเศษแก่ญาติพี่น้อง พรรคพวก เพื่อนฝูงหรือผู้มีพระคุณ และต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วย ความเที่ยงธรรมไม่เห็นแก่หน้าผู้ใด (6) ไม่ลอกหรือนำผลงานของผู้อื่นมาใช้เป็นของตนเอง โดยมิได้ระบุแหล่งที่มา 31

7. ข้าราชการต้องปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของทางราชการอย่างเคร่งครัดและรวดเร็ว ไม่ถ่วงเวลาให้เนิ่นช้า และใช้ข้อมูลข่าวสารที่ได้มาจากการดำเนินงานเพื่อการในหน้าที่ และให้ข้อมูล ข่าวสารแก่ประชาชนอย่างครบถ้วน ถูกต้อง ทันการณ์ และไม่บิดเบือนข้อเท็จจริง (ข้อ 9) (1) ไม่ใช้ข้อมูลที่ได้มาจากการดำเนินงานไปเพื่อการอื่น อันไม่ใช่การปฏิบัติหน้าที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อเอื้อ ประโยชน์แก่ตนเองหรือบุคคลอื่น 32

7 (ต่อ) (2) ชี้แจง แสดงเหตุผลที่แท้จริงอย่างครบถ้วนในกรณี ที่กระทำการอันกระทบต่อสิทธิและเสรีภาพบุคคลอื่น ไม่อนุญาต หรือไม่อนุมัติตามคำขอของบุคคล หรือ เมื่อบุคคลร้องขอตามกฎหมาย เว้นแต่การอัน คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองได้กำหนด ยกเว้นไว้ 33

8. ข้าราชการต้องมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน รักษาคุณภาพและมาตรฐานแห่งวิชาชีพโดยเคร่งครัด (ข้อ 10) (1) ปฏิบัติงานโดยมุ่งประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงาน ให้เกิดผลดีที่สุดจนเต็มกำลังความสามารถ (2) ใช้งบประมาณ ทรัพย์สิน สิทธิและประโยชน์ที่ทาง ราชการจัดให้ ด้วยความประหยัด คุ้มค่า ไม่ฟุ่มเฟือย (3) ใช้ความรู้ความสามารถ ความระมัดระวังในการปฏิบัติ หน้าที่ตามคุณภาพและมาตรฐานวิชาชีพโดยเคร่งครัด 34

9. ข้าราชการต้องยึดมั่นในการปกครองระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (ข้อ 11) (1) ไม่แสดงการต่อต้านการปกครองระบบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือสนับสนุน ให้นำการปกครองในระบอบอื่นที่ไม่มีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุขมาใช้ในประเทศไทย (2) จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ และไม่ละเมิดองค์ พระมหากษัตริย์ พระราชินี และพระรัชทายาท ไม่ว่า ทางกายหรือทางวาจา 35

(1) ไม่ละเมิดหลักสำคัญทางศีลธรรม ศาสนา และประเพณี 10. ข้าราชการต้องเป็นแบบอย่างที่ดีในการดำรงตน รักษาชื่อเสียงและภาพลักษณ์ของราชการโดยรวม (ข้อ 12) (1) ไม่ละเมิดหลักสำคัญทางศีลธรรม ศาสนา และประเพณี (2) หัวหน้าส่วนราชการและผู้บังคับบัญชาทุกระดับชั้น ต้องปกครองผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาด้วยความเที่ยงธรรม โดยไม่เห็นแก่ความสัมพันธ์หรือบุญคุณส่วนตัวและควบคุม ให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม โดยเคร่งครัด 36

10 (ต่อ) (3) หัวหน้าส่วนราชการและผู้บังคับบัญชาทุกระดับ ต้องสนับสนุน ส่งเสริมและยกย่องผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา ที่มีความซื่อสัตย์ มีผลงานดีเด่น มีความรู้ความสามารถ และขยันขันแข็ง ไม่เลือกที่รักมักที่ชัง และยึดมั่นใน ระบบคุณธรรม (4) ไม่กระทำการใดอันอาจนำความเสื่อมเสีย และไม่ไว้วางใจ ให้เกิดแก่ส่วนราชการหรือราชการโดยรวม 37

ก.พ. มีหน้าที่ควบคุม กำกับ ให้มีการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมอย่างทั่วถึงและจริงจัง ดังนี้ (ข้อ 13) 1. วางระเบียบที่จำเป็นแก่การบังคับใช้ประมวลจริยธรรม 2. คุ้มครอง ประกันความเป็นอิสระ เที่ยงธรรม ของ คณะกรรมการจริยธรรม และกลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม 3. คุ้มครองข้าราชการที่ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม มิให้ผู้บังคับบัญชาใช้อำนาจโดยไม่เป็นธรรม 4. เผยแพร่และปลูกฝังจริยธรรมให้เป็นที่รับทราบ อย่างกว้างขวาง 38

5. ส่งเสริมและยกย่องส่วนราชการ หัวหน้าส่วนราชการ ผู้บังคับบัญชา และข้าราชการที่ปฏิบัติตามประมวล จริยธรรม 6. ติดตาม สอดส่องการใช้บังคับ และการปฏิบัติตาม ประมวลจริยธรรม 7. ประสานงานกับผู้ตรวจการแผ่นดิน เพื่อให้การปฏิบัติ ตามค่านิยมหลักและประมวลจริยธรรมมีผลใช้บังคับ อย่างจริงจัง 8. ประเมินผลการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม จัดทำ รายงานประจำปีเสนอคณะรัฐมนตรี ผู้ตรวจการ แผ่นดิน และเผยแพร่ 39

9. ตีความและวินิจฉัยชี้ขาดปัญหาอันเกิดจากการใช้ ประมวลจริยธรรม 10. ประมวลการตีความและวินิจฉัยปัญหาทุกปี และ เผยแพร่ให้ข้าราชการทราบเพื่อยึดถือและเป็น แนวทางปฏิบัติ 11. ทบทวนเพื่อแก้ไขประมวลจริยธรรมหรือไม่ทุก 4 ปี 12. ดำเนินการอื่นตามประมวลจริยธรรมนี้ และตามที่จะ ตกลงกับผู้ตรวจการแผ่นดิน 40

องค์ประกอบของคณะกรรมการจริยธรรม (ข้อ 14) 1. ประธานกรรมการ ซึ่งหัวหน้าส่วนราชการเสนอจากผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกผู้มีความซื่อสัตย์เป็นประจักษ์ โดยได้รับความเห็นชอบ จาก ก.พ. 2. กรรมการผู้ดำรงตำแหน่งประเภทบริหารหรือประเภทอำนวยการ เลือกกันให้เหลือสองคน 3. กรรมการสองคน ซึ่งเป็นข้าราชการที่ได้รับเลือกจากข้าราชการ พนักงานราชการและลูกจ้าง 4. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกสองคน ซึ่งหัวหน้าส่วนราชการและ รองหัวหน้าส่วนราชการร่วมกันเสนอ ให้หัวหน้ากลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรมเป็นเลขานุการคณะกรรมการจริยธรรม กรรมการจริยธรรมต้องไม่เคยถูกลงโทษทางวินัยและเป็นผู้มีเกียรติ เป็นที่ยอมรับของส่วนราชการนั้น 41 41

อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการจริยธรรม 1. ควบคุม กำกับ ส่งเสริมและให้คำแนะนำในการใช้บังคับประมวลจริยธรรม 2. สอดส่องดูแลให้มีการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม ในกรณีที่มีข้อสงสัยหรือมีข้อร้องเรียนว่ามีการฝ่าฝืนจริยธรรม ให้ส่งเรื่องให้หัวหน้าส่วนราชการเพื่อปฏิบัติ ตามประมวลจริยธรรมโดยเร็ว 3. พิจารณาวินิจฉัยชี้ขาดปัญหาอันเกิดจากการใช้บังคับ ประมวลจริยธรรม เมื่อได้วินิจฉัยแล้วให้ส่งคำวินิจฉัยให้ ก.พ. โดยพลัน ถ้า ก.พ. มิได้วินิจฉัยเป็นอย่างอื่นภายใน 60 วัน นับแต่วันที่ ก.พ. รับเรื่อง ให้คำวินิจฉัยของคณะกรรมการจริยธรรมเป็นที่สุด 42

อำนาจหน้าที่ (ต่อ) 4. ส่งเรื่องให้ ก.พ. พิจารณาวินิจฉัยในกรณีที่เห็นว่าเรื่องนั้น เป็นเรื่องสำคัญหรือมีผลกระทบในวงกว้างหลาย ส่วนราชการ และยังไม่มีคำวินิจฉัยของ ก.พ. หรือ ผู้ตรวจการแผ่นดิน 5. คุ้มครองและประกันความเป็นอิสระและเที่ยงธรรมของ กลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม 6. คุ้มครองข้าราชการซึ่งปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม อย่างตรงไปตรงมา มิให้ผู้บังคับบัญชาใช้อำนาจ โดยไม่เป็นธรรมต่อข้าราชการนั้น 43

อำนาจหน้าที่ (ต่อ) 7. เสนอผลการประเมินการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมของ หัวหน้าส่วนราชการต่อ ก.พ. และประเมินผลการปฏิบัติงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม เพื่อเสนอหัวหน้าส่วนราชการ ประกอบการเลื่อนเงินเดือน หรือเลื่อนตำแหน่ง 8. เสนอแนะการแก้ไขเพิ่มเติมประมวลจริยธรรมหรือการอื่น ที่สมควรต่อ ก.พ. 9. ดำเนินการอื่นตามประมวลจริยธรรมหรือตามที่ ก.พ. มอบหมาย การประชุมคณะกรรมการจริยธรรมให้นำกฎหมายว่าด้วย วิธีปฏิบัติราชการทางปกครองมาใช้บังคับ 44

หน้าที่หัวหน้าส่วนราชการและผู้บริหารส่วนราชการ (ข้อ 16) (บริหาร อำนวยการ ตำแหน่งอื่นที่ทำหน้าที่เป็นผู้บังคับบัญชา) 1. ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม 2. ประพฤติตนให้เป็นแบบอย่างที่ดี 3. ควบคุมให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม 4. สนับสนุน ส่งเสริม ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาที่มีความซื่อสัตย์ มีผลงานและความรู้ความสามารถ และปฏิบัติตามประมวล จริยธรรม 45

1. คุ้มครองและประกันความเป็นอิสระและเที่ยงธรรม โดยมีอำนาจหน้าที่ ดังนี้ (ข้อ 16) 1. คุ้มครองและประกันความเป็นอิสระและเที่ยงธรรม ของกลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรมของส่วนราชการ 2. คุ้มครองข้าราชการที่ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมนี้ อย่างตรงไปตรงมา มิให้ถูกกลั่นแกล้ง หรือถูกใช้อำนาจโดยไม่เป็นธรรม 46

หัวหน้าส่วนราชการ ผู้บริหาร (อำนวยการขึ้นไป) ที่ถูก กล่าวหาว่าไม่ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม ไม่อาจ - ออกคำสั่งแต่งตั้ง - โยกย้าย - เลื่อนเงินเดือน - แต่งตั้งคณะกรรมการสืบสวนข้อเท็จจริง หรือทางวินัย - ดำเนินการอื่นใดที่เป็นผลร้าย เว้นแต่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการจริยธรรม ประจำส่วนราชการ แก่ข้าราชการ ผู้กล่าวหามิได้ 47

3. ส่งเสริมและเผยแพร่การปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม 4. ติดตาม สอดส่อง ให้ข้าราชการในส่วนราชการปฏิบัติ ตามประมวลจริยธรรมอย่างเคร่งครัด 5. ปฏิบัติตามมติหรือคำวินิจฉัยของ ก.พ. คณะกรรมการ จริยธรรม คำแนะนำของผู้ตรวจการแผ่นดิน (ถ้าไม่เห็นพ้องให้เสนอ ก.พ. วินิจฉัย) 6. รวบรวมปัญหาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุงประมวล จริยธรรมหรือการอื่นเสนอต่อ ก.พ. 7. ดำเนินการอื่นตามประมวลนี้ หรือตามที่ผู้ตรวจการแผ่นดิน หรือ ก.พ. มอบหมาย 48

- ขึ้นตรงต่อหัวหน้าส่วนราชการ - มีความเป็นอิสระ กลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม (ข้อ 17) - ขึ้นตรงต่อหัวหน้าส่วนราชการ - มีความเป็นอิสระ - มีข้าราชการซึ่งดำรงตำแหน่งประเภทบริหาร ระดับต้นขึ้นไปเป็นหัวหน้ากลุ่ม 49

ให้ใช้ประโยชน์จากการเจ้าหน้าที่ กลุ่มงาน คุ้มครองจริยธรรม มติ ค.ร.ม.๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๒ ให้ใช้ประโยชน์จากการเจ้าหน้าที่ มติ ค.ร.ม. ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๕๓ เป็นหน่วยงานภายใน ให้เปลี่ยนศูนย์ประสานราชการใสสะอาดหรือหน่วยงานที่รับผิดชอบภารกิจด้านการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลเป็นกลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรมปฏิบัติงานภายใต้การกำกับดูแลของเลขานุการคณะกรรมการจริยธรรม ให้เพิ่มเติมบทบาทเกี่ยวกับการให้ความสำคัญกับการเปิดเผยข้อมูลที่โปร่งใส กระบวนการรับเรื่องร้องเรียนและร้องทุกข์ ระบบพิทักษ์ดูแลพยานและผู้ร้องเรียน และการสอบสวนที่เป็นธรรมและโปร่งใส 50

1. เผยแพร่ ปลูกฝัง ส่งเสริม และยกย่องข้าราชการ อำนาจหน้าที่กลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม (ข้อ 17) 1. เผยแพร่ ปลูกฝัง ส่งเสริม และยกย่องข้าราชการ ที่เป็นแบบอย่างที่ดี และติดตามสอดส่องการปฏิบัติ ตามประมวลจริยธรรม 2. สืบสวนข้อเท็จจริงการฝ่าฝืนจริยธรรม เพื่อรายงานผล ให้หัวหน้าส่วนราชการพิจารณา โดยอาจมีผู้ร้องขอ ดำเนินการตามที่หัวหน้าส่วนราชการมอบหมาย หรือ ตามที่เห็นสมควร 51

4. ทำหน้าที่ฝ่ายเลขานุการของคณะกรรมการจริยธรรมประจำ ส่วนราชการ 3. ให้ความช่วยเหลือและดูแลข้าราชการ ซึ่งปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมนี้อย่างตรงไปตรงมา มิให้ถูกกลั่นแกล้งหรือถูกใช้อำนาจโดยไม่เป็นธรรม (นำข้อ 16 (2) มาใช้กับข้าราชการในกลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม โดยให้ ก.พ. เป็นผู้ให้ความเห็นชอบ) 4. ทำหน้าที่ฝ่ายเลขานุการของคณะกรรมการจริยธรรมประจำ ส่วนราชการ 5. ดำเนินการอื่นตามประมวลจริยธรรม หรือตามที่หัวหน้า ส่วนราชการ คณะกรรมการจริยธรรม ก.พ. มอบหมาย 52

ระบบการบังคับใช้ประมวลจริยธรรม การฝ่าฝืนจริยธรรมตามความในหมวด 2 ของประมวลจริยธรรมนี้เป็นความผิดทางวินัย (ข้อ 18) 53

การฝ่าฝืนจริยธรรม (ข้อ 19) การฝ่าฝืนจริยธรรม (ข้อ 19) ผู้บังคับบัญชาอาจสั่ง :- - ลงโทษทางวินัย - ว่ากล่าวตักเตือน - ทำทัณฑ์บนเป็นหนังสือ - สั่งให้ได้รับการพัฒนาตามที่เห็นสมควร 54

กลไกการดำเนินการกรณีฝ่าฝืนประมวลจริยธรรม วินิจฉัย ข้าราชการ กรณีมีข้อสงสัย /มีผู้ทักท้วง ข้อ 3 (1) ส่งเรื่อง คณะกรรมการจริยธรรม ข้าราชการ กรณีมีความเคลือบแคลง /สงสัย/ทักท้วง ข้อ 5 (3) ข้อ 7 (1) มีข้อสงสัย ข้อ 15 (2) มีผู้ร้องเรียน ยุติเรื่อง หัวหน้าส่วนราชการ รายงาน ข้าราชการผู้รู้หรือพบเห็น ข้อ 3 (2) รายงาน ดำเนินการทางวินัย ข้อ 17 (2) กลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม สืบสวนข้อเท็จจริง ผู้ร้องเรียนการฝ่าฝืน ข้อ 17 (2) มีผู้ร้องขอ หัวหน้าส่วนราชการมอบหมาย ตามที่เห็นสมควร 55

กลไกการดำเนินการกรณีฝ่าฝืนประมวลจริยธรรม วินิจฉัย ข้าราชการ กรณีมีข้อสงสัย /มีผู้ทักท้วง ส่งเรื่อง คณะกรรมการจริยธรรม ข้าราชการ กรณีมีความเคลือบแคลง /สงสัย/ทักท้วง มีผู้สงสัย/ทักท้วง มีผู้ร้องเรียน ยุติเรื่อง พิจารณา/สั่งการ หัวหน้าส่วนราชการ รายงาน ข้าราชการผู้รู้หรือพบเห็น รายงาน ดำเนินการทางวินัย กลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม สืบสวนหาข้อเท็จจริง ผู้ร้องเรียนการฝ่าฝืน มีผู้ร้องขอ หัวหน้าส่วนราชการมอบหมาย ตามที่เห็นสมควร

การดำเนินการทางวินัย 1. แจ้งข้อกล่าวหา 2. สรุปพยานหลักฐานให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบ 3. รับฟังคำชี้แจงของผู้ถูกกล่าวหา 56

การส่งเสริมจริยธรรมข้าราชการ ให้หัวหน้าส่วนราชการ คณะกรรมการจริยธรรม และ ก.พ. ส่งเสริมจริยธรรมข้าราชการ (ข้อ 20) (1) ในการบรรจุแต่งตั้ง เลื่อนเงินเดือน ย้ายหรือโอน ข้าราชการ ให้ใช้พฤติกรรมทางจริยธรรมของผู้นั้น พิจารณาควบคู่กับความรู้ความสามารถ (2) ปลูกฝังจริยธรรมให้ข้าราชการใหม่ จัดให้ข้าราชการ ลงลายมือชื่อรับทราบประมวลจริยธรรม จัดให้มีสมุด บันทึกประวัติในส่วนที่เกี่ยวกับจริยธรรมของข้าราชการ แต่ละคน รวมทั้งจัดให้มีกิจกรรมส่งเสริมจริยธรรมผู้บริหาร และข้าราชการอย่างสม่ำเสมอ 57

การส่งเสริมจริยธรรมข้าราชการ (ต่อ) (3) ประเมินการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมของข้าราชการ (4) คุ้มครองข้าราชการผู้ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม อย่างเพียงพอ (5) ยกย่องข้าราชการและส่วนราชการที่ถือปฏิบัติตาม ประมวลจริยธรรม โดยเคร่งครัด (6) ตอบข้อสงสัยหรือคำถามเกี่ยวกับการปฏิบัติตามประมวล จริยธรรม 58

การส่งเสริมจริยธรรมข้าราชการ(ต่อ) (7) จัดให้มีการศึกษาค่านิยมที่เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติตาม ประมวลจริยธรรม และดำเนินการแก้ไขปรับเปลี่ยน ค่านิยม นั้น (8) เผยแพร่ให้ประชาชน คู่สมรส ญาติ พี่น้อง พรรคพวก เพื่อนฝูงของข้าราชการ ตลอดจนประชาชนผู้มาติดต่อ ราชการทราบประมวลจริยธรรมข้าราชการ เพื่อไม่ ทำการอันเป็นการส่งเสริมหรือก่อให้เกิดการฝ่าฝืน จริยธรรม (9) จัดให้มีการประเมินผลการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม 59

เมื่อมีปัญหาการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม ในเรื่องใด (ข้อ 21) ข้าราชการอาจเสนอเรื่องให้หัวหน้ากลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรมนำเสนอเพื่อขอคำวินิจฉัยหรืออนุญาตจากคณะกรรมการจริยธรรม ในกรณีที่เป็นเรื่องสำคัญหรือมีผลกระทบใน วงกว้างหลายส่วนราชการ และยังไม่มีคำวินิจฉัยของ ก.พ. หรือผู้ตรวจการแผ่นดิน คณะกรรมการจริยธรรมอาจส่งเรื่องให้ ก.พ. วินิจฉัย 60

ในกรณีที่ ก.พ. เห็นว่าเรื่องดังกล่าวเป็นเรื่องสำคัญ อันควรแก่การขอคำแนะนำจากผู้ตรวจการแผ่นดินก็ให้กระทำได้ ข้าราชการที่ปฏิบัติตามคำวินิจฉัยของคณะกรรมการจริยธรรม ก.พ. หรือผู้ตรวจการแผ่นดิน ไม่ต้องรับผิดทางวินัย 61

ในกรณีที่จำเป็นต้องดำเนินการเรื่องใดโดยด่วน (ข้อ 22) หากปล่อยให้เนิ่นช้า จะกระทบต่อประโยชน์ส่วนรวมหรือประโยชน์ของทางราชการ และไม่อาจเรียกประชุมคณะกรรมการจริยธรรมได้ทัน ข้าราชการอาจขอคำแนะนำจากหัวหน้ากลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรมของส่วนราชการที่ตนสังกัด หัวหน้ากลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรมมีหน้าที่ต้องให้คำแนะนำตามสมควรตามคำวินิจฉัยของคณะกรรมการจริยธรรม ก.พ.หรือผู้ตรวจการแผ่นดิน 62

หากไม่มีคำวินิจฉัยในเรื่องที่เป็นปัญหามาก่อน หัวหน้า กลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรมอาจให้คำแนะนำ โดยยึดประโยชน์ สูงสุดของส่วนราชการเป็นสำคัญ ทั้งต้องมุ่งสร้างความสำนึกและเที่ยงธรรมในหน้าที่ ผดุงเกียรติและศักดิ์ศรีของข้าราชการที่สร้างความไว้วางใจ และเชื่อมั่นของปวงชน และการดำรงตนเป็นแบบอย่างที่ดีงาม ให้ส่งเรื่องให้คณะกรรมการจริยธรรมและ ก.พ. ทราบ ข้าราชการที่ปฏิบัติตามคำแนะนำของหัวหน้ากลุ่มงาน คุ้มครองจริยธรรมตามแนวทางที่คณะกรรมการจริยธรรม ก.พ. หรือผู้ตรวจการแผ่นดินเคยวินิจฉัยไว้แล้วโดยสุจริต ไม่ต้อง รับผิดทางวินัย 63

บทเฉพาะกาล 1. แต่งตั้งคณะกรรมการจริยธรรมฯ และกลุ่มงานคุ้มครอง จริยธรรม ภายใน 90 วัน นับแต่วันที่ประมวลจริยธรรม มีผลใช้บังคับ (ประมวลจริยธรรมประกาศในราชกิจจานุเบกษา 5 พฤศจิกายน 2552 ใช้บังคับตั้งแต่วันครบ 90 วัน นับแต่ วันประกาศ) 64

2. เมื่อครบ 1 ปี ก.พ.ต้องประเมินการปฏิบัติ ปรับปรุง หรือ 2. เมื่อครบ 1 ปี ก.พ.ต้องประเมินการปฏิบัติ ปรับปรุง หรือ แก้ไขเพิ่มเติมประมวลจริยธรรม ให้ ก.พ. รับฟังข้าราชการ หัวหน้ากลุ่มงานคุ้มครอง จริยธรรม คณะกรรมการจริยธรรม หัวหน้าส่วนราชการ และผู้ตรวจการแผ่นดิน ต้องดำเนินการภายใน 180 วัน นับแต่ครบ 1 ปี 65

การยึดถือเป็นจริยธรรม สร้างเป็นเงื่อนไขของ การเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ โครงสร้างพื้นฐานของ การตรวจสอบ ระบบจริยธรรม จากสังคมและองค์กร Commitment ภายนอก ต้นแบบ / ภาวะผู้นำ ความรับผิดชอบและ การปฏิบัติ กรอบกฎหมาย ควบคุม มาตรฐานทางคุณธรรม และจริยธรรม การยึดถือเป็นจริยธรรม ของวิชาชีพ ชี้นำ สร้างเป็นเงื่อนไขของ การเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ เจ้าภาพ / ผู้ประสานงาน บริหารจัดการ 66

บทบาทของคณะกรรมการจริยธรรม เป็นเจ้าภาพ เจ้าของเรื่อง 2) กำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ และแนวทาง 3) ส่งเสริม กระตุ้น ติดตาม 4) สร้างเครือข่ายภายในและภายนอก 5) บริหารความรู้ สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมจริยธรรม 6) เชื่อมโยงเรื่องจริยธรรมกับการพัฒนาและการบริหารงานบุคคล 67 68

เกริกเกียรติ์ เอกพจน์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการส่งเสริมจริยธรรม เกริกเกียรติ์ เอกพจน์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการส่งเสริมจริยธรรม สำนักงาน ก.พ. (081) 826-4395