สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย ฝ่ายติดตามนโยบาย ก้อย หนิง แก้ว. ประเด็นการศึกษา.
Advertisements

เป้าหมาย เพื่อประสบผลสำเร็จในการลดผู้ติดเชื้อเอ็ชไอวีรายใหม่โดยการบูรณา การยุทธศาสตร์และการปฏิบัติการระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด และส่วนกลางที่ครอบคลุมเยาวชนอายุ
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
รู้จักกัน ผ่านชื่อย่อ
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การบริหาร ยุทธศาสตร์บูรณา การการป้องกันและ แก้ไขปัญหาเอดส์ ระดับจังหวัด กลุ่มผู้ติดเชื้อ เอชไอวี
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ยุทธศาสตร์ กรมสุขภาพจิต
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ในภาพรวมของเขต สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 4 จ. ราชบุรี
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต เขต 8 นครสวรรค์ นครสวรรค์ กำแพงเพชร อุทัยธานี
การบูรณาการงานเอดส์ระดับเขต
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
สรุปการประชุม เขต 10.
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สรุปบทเรียนความสำเร็จการดำเนินงานโครงการโรคเอดส์ ด้านการป้องกัน
นโยบายด้านบริหาร.
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
ย.๔ พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยรุ่นในสถานบริการ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
สกลนครโมเดล.
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
การดำเนินงาน PMTCT (การป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก)
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
การพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
บทเรียนที่งอกงามในการทำงาน ด้านเอชไอวี / เอดส์ ของพี่น้อง ภาคีกพอ. ภาคเหนือ 25 ปี เบญจเพศ มูลนิธิเข้าถึงเอดส์ พันธกิจเอดส์แห่งประเทศ ไทย มูลนิธิเอดส์เน็ท.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE องค์กรที่นำเสนอ กรมอนามัย มูลนิธิเอดส์แห่งประเทศไทย NCA PHPT สำนักพัฒนาวิชาการสนับสนุนการป้องกันแก้ไขปัญหาเอดส์

โครงการการดูแลหญิงหลังคลอดและครอบครัวที่ติดเชื้อเอชไอวี กรมอนามัย โครงการการดูแลหญิงหลังคลอดและครอบครัวที่ติดเชื้อเอชไอวี กรมอนามัย บทเรียนสำคัญ การส่งต่อการให้บริการภายในและภายนอกหน่วยงาน และการบริหารจัดการข้อมูลของหญิงหลังคลอดติดเชื้อ การประสานเชื่อมต่องานกับ สปสช และสอวพ. (NAP, NAPHA Extension) ระบบบริการในการดูแลหญิงหลังคลอดต่างด้าวที่ติดเชื้อ การศึกษารูปแบบการให้บริการที่เหมาะสม ควรจะเหมือนหรือต่างจากการให้บริการหญิงหลังคลอดที่เป็นคนไทยอย่างไรบ้าง ผลักดันให้กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ และ สปสช รับเรื่องไปบรรจุเป็นแผนส่วนกลาง การประสานงานกับผู้บริหารในพื้นที่ การทำงานกลุ่มต่างด้าวในพื้นที่ จำเป็นต้องประสานกับผู้บริหารส่วนจังหวัด เพื่อการสนับสนุนการดำเนินงาน กลุ่มองค์กรชุมชนที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ มีบทบาทในการช่วยงานโรงพยาบาลให้มีความคล่องตัว และมีความต่อเนื่องมาก ข้อคิดเห็น การดูแลรักษาหญิงหลังคลอดที่ติดเชื้อฯ อย่างต่อเนื่อง ต้องได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วน

ประเด็นอภิปรายของ ECAT การเข้าถึงกลุ่มหลังคลอดและครอบครัวที่ติดเชื้อในเชิงรุก โดยการประสานเครือข่ายการทำงาน ระหว่างระบบบริการสุขภาพและการทำงานในชุมชน การสร้างความรู้ ความเข้าใจด้านเอดส์ทั้งผู้ให้บริการ ผู้รับบริการ และชุมชนที่มีความต่อเนื่อง

โครงการดูแลหญิงหลังคลอดและครอบครัวที่ติดเชื้อเอชไอวี ในชุมชน มูลนิธิเอดส์แห่งประเทศไทย บทเรียนสำคัญ กระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการทำงานกับชุมชนและท้องถิ่น การทำงานร่วมกันระหว่างโรงพยาบาล และกลุ่มผู้ติดเชื้อฯ ในโรงพยาบาลมีพี่เลี้ยงเป็นตัวประสาน การเยี่ยมบ้านหญิงหลังคลอดติดเชื้อฯ ต้องใช้ผู้ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพและควรเยี่ยมบ้านเหมือนหญิงหลังคลอดปกติ ข้อคิดเห็น การทำงานแบบมีส่วนร่วมของเครือข่าย ทั้งภาครัฐและประชาสังคม ทำให้เกิดการเชื่อมงานกันอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน

การทำงานภายใต้เครือข่ายศาสนา ทำให้เกิดความน่าเชื่อถือ รูปแบบการบูรณาการงานเอดส์กับศาสนา: บทเรียนจากศูนย์ฟื้นฟูคุณภาพชีวิตในชุมชน เครือข่ายองค์กรศาสนา (NCA) บทเรียนสำคัญ ผู้นำทางศาสนามีความสำคัญในการขับเคลื่อนงานเอดส์ ผู้นำทางศาสนา มีความรู้ ความเข้าใจ และทัศนคติการทำงานเอดส์ที่ถูกต้อง ศาสนาทำให้ผู้ติดเชื้อ มีสุขภาพจิตดีขึ้น ข้อคิดเห็น การทำงานภายใต้เครือข่ายศาสนา ทำให้เกิดความน่าเชื่อถือ ผลักดันให้องค์กรศาสนาส่วนกลางเห็นความสำคัญในการทำงานด้านเอดส์

เทคนิค Real Time HIV DNA PCR สำหรับการวินิจฉัยเอช ไอ วีโดยเร็วในทารกที่เกิดกับมารดาติดเชื้อเอช ไอ วี PHPT บทเรียนสำคัญ สามารถวินิจฉัยภาวะการติดเชื้อเอช ไอ วี ได้เร็วในทารกได้เร็ว ประหยัด สะดวก และสามารถลดปัญหาการเจาะเลือดเด็กยาก เสียค่าขนส่งมาก ข้อคิดเห็น การให้การดูแลด้านจิตสังคมของหญิงหลังคลอด และครอบครัว การพัฒนา สร้างเสริมศักยภาพการให้การปรึกษา ต้องมีการพัฒนาหลักสูตรและการปฏิบัติงานให้พร้อมและสอดคล้อง ควรประเมินความพร้อมของแม่ในการตรวจเลือดลูก การผลักดันให้เป็นนโยบายและขยายให้ครอบคลุมทั่วประเทศ

1. แผนบูรณาการงานป้องกันแก้ไขปัญหาเอดส์ในพื้นที่ โครงการการบูรณาการงานป้องกันแก้ไขปัญหาเอดส์ กรณี 3 จังหวัด ลำปาง อุดรธานี และสงขลา สำนักพัฒนาวิชาการสนับสนุนการป้องกันแก้ไขปัญหาเอดส์ เป้าประสงค์ 1. แผนบูรณาการงานป้องกันแก้ไขปัญหาเอดส์ในพื้นที่ ที่มาจาก “พื้นฐานของปัญหาและเป้าหมายร่วมกัน” 2. รูปแบบ การพัฒนากลไกการดำเนินงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานในพื้นที่ สคร. สสจ และSR กรอบการดำเนินงานบูรณาการ ขั้นที่1 การบูรณาการ เพื่อเชื่อมโยงงาน เยาวชนใน 3 setting : เยาวชนในชุมชน โรงเรียน สถานประกอบการ งานด้านการป้องกัน และการดูแล ขั้นที่2 การบูรณาการงานกับระบบปกติ การหาเจ้าภาพในระบบที่มีอยู่ เพื่อนำไปสู่ความยั่งยืน

บทเรียน แนวคิด คำจำกัดความ “การบูรณาการ” ของคนทำงาน ไม่ตรงกัน แนวคิด คำจำกัดความ “การบูรณาการ” ของคนทำงาน ไม่ตรงกัน กรอบการดำเนินงาน และบทบาทที่ชัดเจนของแต่ละภาคส่วนมีความสำคัญ การแสดงบทบาทของแต่ละภาคส่วน เพื่อขับเคลื่อนเชิงยุทธศาสตร์ร่วมกัน ส่วนกลาง ควรติดตามอย่างต่อเนื่อง สสจ. ภาระงานมาก - การสนับสนุนของแต่ละภาคส่วน ในการดำเนินการในเรื่อง - การประสานงานเครือข่าย ให้เป็นนักจัดการ ชวนคิด ชวนคุย - การพัฒนาข้อมูล ที่สะท้อนสถานการณ์ปัญหาที่ชัดเจน

บทเรียน ความสำเร็จ สสจ เป็นตัวจักรสำคัญในการขับเคลื่อนงาน มีกลไกการทำงานร่วมกันระหว่างภาคีในพื้นที่ เช่น ทีมครู ทีม สคร. รพ. สามารถวิเคราะห์ และนำเสนอข้อมูลที่สำคัญต่อผู้บริหาร ข้อคิดเห็น จุดเริ่ม “ การมองปัญหาร่วมกัน” อาจจะทำให้การพัฒนาแผนบูรณาการเป็นไปได้อย่างเป็นเนื้อเดียวกันมากขึ้น