สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE องค์กรที่นำเสนอ กรมอนามัย มูลนิธิเอดส์แห่งประเทศไทย NCA PHPT สำนักพัฒนาวิชาการสนับสนุนการป้องกันแก้ไขปัญหาเอดส์
โครงการการดูแลหญิงหลังคลอดและครอบครัวที่ติดเชื้อเอชไอวี กรมอนามัย โครงการการดูแลหญิงหลังคลอดและครอบครัวที่ติดเชื้อเอชไอวี กรมอนามัย บทเรียนสำคัญ การส่งต่อการให้บริการภายในและภายนอกหน่วยงาน และการบริหารจัดการข้อมูลของหญิงหลังคลอดติดเชื้อ การประสานเชื่อมต่องานกับ สปสช และสอวพ. (NAP, NAPHA Extension) ระบบบริการในการดูแลหญิงหลังคลอดต่างด้าวที่ติดเชื้อ การศึกษารูปแบบการให้บริการที่เหมาะสม ควรจะเหมือนหรือต่างจากการให้บริการหญิงหลังคลอดที่เป็นคนไทยอย่างไรบ้าง ผลักดันให้กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ และ สปสช รับเรื่องไปบรรจุเป็นแผนส่วนกลาง การประสานงานกับผู้บริหารในพื้นที่ การทำงานกลุ่มต่างด้าวในพื้นที่ จำเป็นต้องประสานกับผู้บริหารส่วนจังหวัด เพื่อการสนับสนุนการดำเนินงาน กลุ่มองค์กรชุมชนที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ มีบทบาทในการช่วยงานโรงพยาบาลให้มีความคล่องตัว และมีความต่อเนื่องมาก ข้อคิดเห็น การดูแลรักษาหญิงหลังคลอดที่ติดเชื้อฯ อย่างต่อเนื่อง ต้องได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วน
ประเด็นอภิปรายของ ECAT การเข้าถึงกลุ่มหลังคลอดและครอบครัวที่ติดเชื้อในเชิงรุก โดยการประสานเครือข่ายการทำงาน ระหว่างระบบบริการสุขภาพและการทำงานในชุมชน การสร้างความรู้ ความเข้าใจด้านเอดส์ทั้งผู้ให้บริการ ผู้รับบริการ และชุมชนที่มีความต่อเนื่อง
โครงการดูแลหญิงหลังคลอดและครอบครัวที่ติดเชื้อเอชไอวี ในชุมชน มูลนิธิเอดส์แห่งประเทศไทย บทเรียนสำคัญ กระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการทำงานกับชุมชนและท้องถิ่น การทำงานร่วมกันระหว่างโรงพยาบาล และกลุ่มผู้ติดเชื้อฯ ในโรงพยาบาลมีพี่เลี้ยงเป็นตัวประสาน การเยี่ยมบ้านหญิงหลังคลอดติดเชื้อฯ ต้องใช้ผู้ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพและควรเยี่ยมบ้านเหมือนหญิงหลังคลอดปกติ ข้อคิดเห็น การทำงานแบบมีส่วนร่วมของเครือข่าย ทั้งภาครัฐและประชาสังคม ทำให้เกิดการเชื่อมงานกันอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน
การทำงานภายใต้เครือข่ายศาสนา ทำให้เกิดความน่าเชื่อถือ รูปแบบการบูรณาการงานเอดส์กับศาสนา: บทเรียนจากศูนย์ฟื้นฟูคุณภาพชีวิตในชุมชน เครือข่ายองค์กรศาสนา (NCA) บทเรียนสำคัญ ผู้นำทางศาสนามีความสำคัญในการขับเคลื่อนงานเอดส์ ผู้นำทางศาสนา มีความรู้ ความเข้าใจ และทัศนคติการทำงานเอดส์ที่ถูกต้อง ศาสนาทำให้ผู้ติดเชื้อ มีสุขภาพจิตดีขึ้น ข้อคิดเห็น การทำงานภายใต้เครือข่ายศาสนา ทำให้เกิดความน่าเชื่อถือ ผลักดันให้องค์กรศาสนาส่วนกลางเห็นความสำคัญในการทำงานด้านเอดส์
เทคนิค Real Time HIV DNA PCR สำหรับการวินิจฉัยเอช ไอ วีโดยเร็วในทารกที่เกิดกับมารดาติดเชื้อเอช ไอ วี PHPT บทเรียนสำคัญ สามารถวินิจฉัยภาวะการติดเชื้อเอช ไอ วี ได้เร็วในทารกได้เร็ว ประหยัด สะดวก และสามารถลดปัญหาการเจาะเลือดเด็กยาก เสียค่าขนส่งมาก ข้อคิดเห็น การให้การดูแลด้านจิตสังคมของหญิงหลังคลอด และครอบครัว การพัฒนา สร้างเสริมศักยภาพการให้การปรึกษา ต้องมีการพัฒนาหลักสูตรและการปฏิบัติงานให้พร้อมและสอดคล้อง ควรประเมินความพร้อมของแม่ในการตรวจเลือดลูก การผลักดันให้เป็นนโยบายและขยายให้ครอบคลุมทั่วประเทศ
1. แผนบูรณาการงานป้องกันแก้ไขปัญหาเอดส์ในพื้นที่ โครงการการบูรณาการงานป้องกันแก้ไขปัญหาเอดส์ กรณี 3 จังหวัด ลำปาง อุดรธานี และสงขลา สำนักพัฒนาวิชาการสนับสนุนการป้องกันแก้ไขปัญหาเอดส์ เป้าประสงค์ 1. แผนบูรณาการงานป้องกันแก้ไขปัญหาเอดส์ในพื้นที่ ที่มาจาก “พื้นฐานของปัญหาและเป้าหมายร่วมกัน” 2. รูปแบบ การพัฒนากลไกการดำเนินงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานในพื้นที่ สคร. สสจ และSR กรอบการดำเนินงานบูรณาการ ขั้นที่1 การบูรณาการ เพื่อเชื่อมโยงงาน เยาวชนใน 3 setting : เยาวชนในชุมชน โรงเรียน สถานประกอบการ งานด้านการป้องกัน และการดูแล ขั้นที่2 การบูรณาการงานกับระบบปกติ การหาเจ้าภาพในระบบที่มีอยู่ เพื่อนำไปสู่ความยั่งยืน
บทเรียน แนวคิด คำจำกัดความ “การบูรณาการ” ของคนทำงาน ไม่ตรงกัน แนวคิด คำจำกัดความ “การบูรณาการ” ของคนทำงาน ไม่ตรงกัน กรอบการดำเนินงาน และบทบาทที่ชัดเจนของแต่ละภาคส่วนมีความสำคัญ การแสดงบทบาทของแต่ละภาคส่วน เพื่อขับเคลื่อนเชิงยุทธศาสตร์ร่วมกัน ส่วนกลาง ควรติดตามอย่างต่อเนื่อง สสจ. ภาระงานมาก - การสนับสนุนของแต่ละภาคส่วน ในการดำเนินการในเรื่อง - การประสานงานเครือข่าย ให้เป็นนักจัดการ ชวนคิด ชวนคุย - การพัฒนาข้อมูล ที่สะท้อนสถานการณ์ปัญหาที่ชัดเจน
บทเรียน ความสำเร็จ สสจ เป็นตัวจักรสำคัญในการขับเคลื่อนงาน มีกลไกการทำงานร่วมกันระหว่างภาคีในพื้นที่ เช่น ทีมครู ทีม สคร. รพ. สามารถวิเคราะห์ และนำเสนอข้อมูลที่สำคัญต่อผู้บริหาร ข้อคิดเห็น จุดเริ่ม “ การมองปัญหาร่วมกัน” อาจจะทำให้การพัฒนาแผนบูรณาการเป็นไปได้อย่างเป็นเนื้อเดียวกันมากขึ้น