นักโภชนาการชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 6

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
หลักการออกกำลังกายและการเต้นแอโรบิก
โภชนาการในคลินิก DPAC ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
กินอย่างถูกหลัก ลดน้ำหนักอย่างถูกวิธี
วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
นวัตกรรมน่ารู้ นางสาวสินีนาฎ อุ่นใจเพื่อน
สรุปผลการประชุม สถานะสุขภาพ
สื่อการสอน เรื่องอาหารหลัก 5 หมู่ นายปราโมทย์ จินดางาม
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
ชมรม “อยู่ดีมีสุข” 16 พฤษภาคม 2550
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงานกินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงานสุขภาพ รายชื่อผู้จัดทำ ด.ญ. กนกภรณ์ คุ้มโนนคร้อ ม.1/5 เลขที่ 1
โครงการกินอยู่อย่างพอเพียง
โครงงานสุขภาพ สมาชิกกลุ่ม ฟิชโช 1. ด.ญ.กัญญาณัฐ โอบอ้อม เลขที่ 5 ม.1/15 2. ด.ช.ชลกวิน วัตรศิริทรัพย์ เลขที่ 12 ม.1/15 3. ด.ช.ธณัติ คิว เลขที่ 18 ม.1/15.
เรื่อง โครงงานสุขภาพ กลุ่ม C.A.L.I.N สมาชิก:
รายงานเรื่อง เบาหวาน จัดทำโดย ด.ช.พงศกร พรมวงษ์ ม.1/5 เลขที่ 29
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
นักวิชาการสาธารณสุข 9 กรมอนามัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านหนองกุง อำเภอนาเชือก
การออกกำลังกายในคนอ้วน
Part II - พลังงานจากสารอาหาร
การคำนวณพลังงาน.
Kampol chanchoengpan it สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ Arithmetic and Logic Unit 1.
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
แนวทางการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
แนวทางการปฏิบัติ การจัดการน้ำหนักและรอบเอว
ค่าดัชนีมวลกาย Body Mass Index (BMI) ที่จะบอกว่า อ้วนหรือไม่
นางสาวสุธาสินี ภัยชนะ
ชุดวิชา : การประเมินแรงม้าเครื่องจักร
การประเมินภาวะโภชนาการ ในผู้ที่เป็นเบาหวาน
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
เด็กผอม – เด็กอ้วน ล้วนเป็นปัญหาของชาติ
การแจกแจงปกติ.
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
โดย กัณฐพิชชา สุดจันโท นักโภชนาการ งานโภชนาการ โรงพยาบาลศรีนครินทร์
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
นักโภชนาการชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 6
การเลือกอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนัก
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ประชุมผู้รับผิดชอบงานเบาหวาน
โรคเบาหวาน ภ.
มูลค่าคำขอรับการส่งเสริมในเดือน ม. ค. 56 เพิ่มขึ้น 2 %
อาหารและสารอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งที่รับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่เป็นโทษต่อร่างกายและมีประโยชน์ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารจะเรียกว่า “สารอาหาร”
เฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก6-12 ปีจังหวัดเลย ปี2556
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
Diet for Over Weight นพ.เทอดศักดิ์ เดชคง
ณัชช์ธรณ์ หอมกลิ่นเทียน
สาเหตุของโรคอ้วนและการแก้ไขปัญหา
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
บทที่ 2 กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ (ต่อ)
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นักโภชนาการชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 6 คำนวณ พลังงาน ชัญญานุช ปานนิล นักโภชนาการชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 6

อ้างอิง - น้ำหนักตัว - กิจกรรม (งาน)

น้ำหนักมาตรฐาน ค่าดัชนีมวลกาย สูตรการคำนวณ = น้ำหนัก (กิโลกรัม) คือ ค่าดัชนีที่คำนวณจากน้ำหนักและส่วนสูง สูตรการคำนวณ = น้ำหนัก (กิโลกรัม) ส่วนสูง (เมตร)2 ใช้เปรียบเทียบความสมดุล ระหว่างน้ำหนักตัวต่อความสูงของมนุษย์

การแปลผลค่าดัชนีมวลกาย BMI (กก/ต.ร.ม) Obesity class (ระดับความอ้วน) น้ำหนักน้อย < 18.5 - น้ำหนักปกติ 18.5-22.9 น้ำหนักเกิน 23-24.9 โรคอ้วน 25-29.9 อ้วนระดับ 1 อ้วนมาก 30-39.9 อ้วนระดับ 2 อ้วนอันตราย > 40 อ้วนระดับ 3

หนัก/ใช้แรงงาน เป็นการทำงานที่ต้องใช้ กิจกรรม (งาน) น้อย/เบา เช่น ทำงานนั่งโต๊ะ นั่งหน้าคอมฯ นั่งเย็บผ้าตลอดทั้งวัน หรือ มีการเคลื่อนไหวน้อย ปานกลาง เช่น ทำงานนั่งโต๊ะบ้างและลุกเดินไป มาระหว่างวันเป็นส่วนใหญ่ หนัก/ใช้แรงงาน เป็นการทำงานที่ต้องใช้ แรงงานมาก เช่น นักกีฬา ก่อสร้าง ทำนา

เบาหวิว น้ำหนัก 65 กก. สูง 160 ซม. ทำงานตำแหน่ง พนักงานคอมพิวเตอร์ การคำนวณพลังงาน เบาหวิว น้ำหนัก 65 กก. สูง 160 ซม. ทำงานตำแหน่ง พนักงานคอมพิวเตอร์ (กิจกรรม น้อย) ค่าดัชนีมวลกาย(BMI) = 65 / (1.6x1.6) = 25.4 = อ้วน ระดับ 1

พลังงานที่ต้องการต่อวัน ภาวะโภชนาการ ระดับกิจกรรม น้อย ปานกลาง มาก น.น. น้อย 30-35 40 45-50 น.น. ปกติ 30 35 น.น. เกิน 20-25 อ้วน 1 20-23 25 อ้วน 2-อันตราย 20 22

ค่าดัชนีมวลกาย(BMI) = 65 / (1.6x1.6 ) การคำนวณพลังงาน เบาหวิว น้ำหนัก 65 กก. สูง 160 ซม. ทำงานตำแหน่ง พนักงานคอมพิวเตอร์ (กิจกรรม น้อย) ค่าดัชนีมวลกาย(BMI) = 65 / (1.6x1.6 ) = 25.4 = อ้วน ระดับ 1 พนักงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรม คือ งานเบา (20 ) เบาหวิวต้องการพลังงาน = 65 x 20 = 1300 Kcal. ต่อวัน

ความต้องการโปรตีน ในผู้ใหญ่ > 1 กรัม / กก./ วัน > 1 กรัม / กก./ วัน ความต้องการคาร์โบไฮเดรต ในผู้ใหญ่ > 100 กรัม / วัน โปรตีน : คาร์โบไฮเดรต :ไขมัน = 15-20 : 55-60 : 25-30 พลังงาน ญ. ไม่น้อยกว่า 1200 กิโลแคลอรี่ ช. ไม่น้อยกว่า 1600 กิโลแคลอรี่

การกระจายสารอาหาร โปรตีน 20 % ของพลังงานทั้งหมด โปรตีน 20 % ของพลังงานทั้งหมด = 1300 x20/400 = 65 กรัม 2. คาร์โบไฮเดรต 55 % ของพลังงานทั้งหมด = 1300 x55/400 = 178 กรัม 3. ไขมัน 25 % ของพลังงานทั้งหมด = 1300 x25/900 = 36 กรัม

ปริมาณโปรตีนต่อวัน โปรตีน 65 กรัม เนื้อสัตว์ 65 /3.5 = 18.5 ช้อนโต๊ะ โปรตีน 65 กรัม เนื้อสัตว์ 65 /3.5 = 18.5 ช้อนโต๊ะ หรือ นมขาดมันเนย 1 กล่อง (เท่ากับเนื้อสัตว์ 2 ชต.) และเนื้อสัตว์ 16.5 ช้อนโต๊ะ

การกระจายมื้ออาหาร อาหาร เช้า ว.ช ท ว.บ เย็น พลังงาน นม 1 - เนื้อสัตว์ 1x90 = 90 เนื้อสัตว์ 5.5 4.5 16.5x25= 412.5 ข้าว 1.5 5 x 80 = 400 ผัก 3 9 x 11 = 99 ผลไม้ 4x70 = 280 รวมพลังงาน 1281.5

ปริมาณอาหารต่อวัน สำหรับควบคุมน้ำหนัก ปริมาณอาหารต่อวัน สำหรับควบคุมน้ำหนัก อาหาร 1200 1300 1400 1500 1600 1700 1800 1900 2000 นม 1 2 เนื้อสัตว์ ตามน้ำหนัก ( นน. / 3.5 =…..ชต.) ข้าว 4.5 5 5.5 6 6.5 7 7.5 8 ผัก 9 10.5 11 12 13 13.5 14 14.5 ผลไม้ 4

สวัสดีค่ะ