โดย นายแพทย์ดนัย ธีวันดา ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เป้าหมาย เพื่อประสบผลสำเร็จในการลดผู้ติดเชื้อเอ็ชไอวีรายใหม่โดยการบูรณา การยุทธศาสตร์และการปฏิบัติการระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด และส่วนกลางที่ครอบคลุมเยาวชนอายุ
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
วิสัยทัศน์ องค์กรหลักของประเทศในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี 1.
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
การพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก ทิศทางก้าวไกล สู่ คุณภาพ มาตรฐาน และ ความปลอดภัย นพ.สมชาย เชื้อเพชระโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต.
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
การพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
สรุปการประชุม เขต 10.
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ปีงบประมาณ 2553
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
นโยบายและทิศทาง การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ เด็กวัยเรียนและเยาวชน
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
นโยบายด้านบริหาร.
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สกลนครโมเดล.
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
โครงการ บูรณาการความร่วมมือภาคีเครือข่าย สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อผู้สูงอายุสุขภาพดี “80 ปี ยังแจ๋ว”
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ผลการดำเนินงาน 6 เดือน ประเด็น พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย นายแพทย์ดนัย ธีวันดา ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย ยุทธศาสตร์การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ ปี 2556 สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย โดย นายแพทย์ดนัย ธีวันดา ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย

สำนักส่งเสริมสุขภาพส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดีมีอายุยืน 1. MMR = 18 : 100,000 LB 2. BA ไม่เกิน 25 : 1000 LB 3. หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ ครั้งแรกก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ 60 % 4. เด็กปฐมวัยที่พัฒนาการ ไม่สมวัยได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ 80 % 1. เด็กวัยเรียนมีส่วนสูง ระดับดีและรูปร่างสมส่วน 70 % 2. รร. ระดับเพชร 154 แห่ง 3. ส่งเสริมสุขภาพเด็ก ในถิ่นทุรกันดาร 2,500 คน 1. ร้อยละ 80 สตรีตรวจเต้านมด้วยตนเอง 80 % 2. สัดส่วนของผู้ป่วยมะเร็ง เต้านมระยะที่ 1 และ 2 ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70 3. รพ.สส. 24 แห่ง 1. ผู้สูงอายุได้รับการพัฒนาทักษะทางกายแลกใจ 80 % 2. 80 ปียังแจ๋ว 76 อำเภอ 3. LTC 175 แห่ง 4. วัด สส. 20 % . ร.ร. ส่งเสริมสุขภาพ . ทักษะชีวิตในโรงเรียน . ส่งเสริมโภชนาการและ สุขภาพอนามัยเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร(กพด.) 1. Every Woman Every Child - โครงการส่งเสริมสุขภาพ มารดาและทารก - โครงการส่งเสริมสุขภาพ เด็กปฐมวัย 2. สายใยรักแห่งครอบครัว - รพ. สายใยรักฯ - ตำบลนมแม่ 3. การป้องกัน HIV จากแม่สู่ลูก 1. Every Woman Every Child - เฝ้าระวังมะเร็งเต้านม ในสตรี 2. ร.พ. ส่งเสริมสุขภาพ 3. ส่งเสริมสุขภาพวัยทอง 4. ส่งเสริมสุขภาพ ในสถานประกอบการ 1. ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ - อำเภอ 80 ปียังแจ๋ว - LTC - วัดส่งเสริมสุขภาพ - ชมรมผู้สูงอายุ

เด็กเจริญเติบโต พัฒนาการสมวัย สิ่งที่ดำเนินการ จัดทำโครงการและ KPI : โครงการหลัก รูปแบบ / มาตรฐาน ANC+WCC+LR คุณภาพ ประสาน / ประชุม เพื่อของบ ฯ ต่อ สสส./สปสช./องค์การต่างประเทศ (WHO / UNICEF / GF / TUC) ความต้องการ นโยบายที่ต่อเนื่องอย่างน้อย 5 ปี งบประมาณที่เพียงพอ (ขณะนี้มีอยู่ 7 ล้านบาท ยังขาดงบ ฯ อีก 40 ล้านบาท : การพัฒนาคน / การสื่อสารสังคม / แจ้งประเมินผล) นักวิชาการ (ที่มีประสบการณ์) อีก 2 คน (ขณะนี้มีอยู่ 5 คน) ปัจจัยความสำเร็จ นโยบายและงบประมาณต่อเนื่อง ระบบบริการ MCH ที่มีมาตรฐาน การเข้าถึงบริการของกลุ่มเป้าหมาย ที่สะดวก ครอบคลุม บุคลากร และภาคีที่มีความรู้ ศึกษา การจัดการ การสื่อสารความรู้ ปรับทัศนคติ ทักษะของกลุ่มเป้าหมายที่ดี ข้อมูล กำกับ ติดตาม มาตรฐาน / รูปแบบ / นวัตกรรม / ที่ตอบสนองในแต่ละบริบท สถานการณ์ MMR 31.8 : 100,000 LB BA 25.1 : 1,000 LB LBW 8.9% ANC≥12 Wks. 47.5% BF 42.5% พัฒนาการสมวัย 70.3% (Denver II) รพ.สายใยรักฯ ระดับทอง 92.5% พ่อ แม่ สุขภาพดี เด็กเจริญเติบโต พัฒนาการสมวัย

โครงการ ส่งเสริมสุขภาพมารดาและทารก วัตถุประสงค์ 1. ยกระดับสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ หญิงคลอด และหลังคลอด โดยสร้างการเข้าถึงบริการอย่างเสมอภาค 2. พัฒนาคุณภาพการดูแลหญิงตั้งครรภ์แนวใหม่ ตามข้อแนะนำองค์การ อนามัยโลกในคลินิกฝากครรภ์ และห้องคลอดคุณภาพ 3. ปกป้อง ส่งเสริม และสนับสนุน ให้กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ได้รับชุดสิทธิประโยชน์หลักประกันสุขภาพหน้า

โครงการ ส่งเสริมสุขภาพมารดาและทารก ตัวชีวัด / ค่าเป้าหมาย : 1. หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรก อายุครรภ์น้อยกว่า 12 สัปดาห์ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60 2. ANC คุณภาพไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70 3. ห้องคลอดคุณภาพไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70 4. อัตราส่วนการตายมารดา 18 : 100,000 การเกิดมีชีพ 5. อัตราทารกแรกเกิดขาดออกซิเจน ไม่เกิน 25 : 1,000 การเกิดมีชีพ

โครงการ ส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย วัตถุประสงค์ 1. ปกป้อง ส่งเสริม และสนับสนุนให้กลุ่มเด็กปฐมวัย ได้รับชุดสิทธิประโยชน์ หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า อย่างทั่วถึง และสร้างการเข้าถึงบริการอย่างเสมอภาค 2. พัฒนาคุณภาพบริการตามมาตรฐานคลินิกเด็กดีคุณภาพ (WCC คุณภาพ) 3. สร้างระบบในการดูแลสุขภาพเด็กปฐมวัย ให้เกิด การบูรณาการระหว่างหน่วยงานภาครัฐเอกชนและ ภาคประชาชน เพื่อเด็กเจริญเติบโต มีพัฒนาการสมวัย เป็นคนเก่ง คนดี และมีความสุข

โครงการ ส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย ตัวชีวัด / ค่าเป้าหมาย : 1. คลินิกเด็กดีคุณภาพ (WCC คุณภาพ) ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70 2. เด็กที่มีพัฒนาการไม่สมวัยได้รับการประเมินและแก้ไขพัฒนาการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80

โครงการโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว วัตถุประสงค์ 1. สร้างเครือข่ายการพัฒนาสุขภาพแม่และเด็กจากสถานบริการสาธารณสุขสู่ครัวเรือน ชุมชน และสถานประกอบกิจการ 2. พัฒนาคุณภาพบริการตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว ตั้งแต่ ระยะก่อนตั้งครรภ์ ตั้งครรภ์ คลอด หลังคลอด การมีส่วนร่วมของชุมชน และผลลัพธ์สถานะสุขภาพแม่และเด็ก

โครงการโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว ตัวชีวัด / ค่าเป้าหมาย : รพ.สายใยรักแห่งครอบครัวผ่านเกณฑ์ ระดับทอง ร้อยละ 95

โครงการตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว วัตถุประสงค์ 1. สร้างความรักและความผูกพันให้เกิดขึ้นในครอบครัวด้วยการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 2. สร้างการมีส่วนร่วมของท้องถิ่น ชุมชน เพื่อปกป้อง ส่งเสริม สนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 3. สร้างเครือข่ายการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่จากสถานบริการ ฯสู่ครัวเรือนชุมชนและสถานประกอบการ 4. ขับเคลื่อนสังคมตำบลต้นแบบ “นมแม่เพื่อสายใยรัก แห่งครอบครัว”

โครงการตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว ตัวชีวัด / ค่าเป้าหมาย : อำเภอที่มีตำบลผ่านเกณฑ์ตำบลนมแม่ อย่างน้อย 1 แห่ง ร้อยละ 35

โครงการปรับภารกิจการจัดการปัญหาเอดส์ โดยบูรณาการ การจัดการเชิงรุกและเครือข่ายการทำงาน ให้เข้าสู่กระบวนการกระจายอำนาจในจังหวัด ให้ครอบคลุมถ้วนทั่วกลุ่มเป้าหมายและส่งผลอย่างยั่งยืน (โครงการกองทุนโลก) วัตถุประสงค์ เพื่อจัดบริการด้านเอชไอวีที่ครบถ้วน และมีประสิทธิผลแก่เยาวชน พนักงานบริการชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย (รวมทั้งผู้ผ่าตัดทางเพศ) ผู้ต้องขัง ผู้ใช้สารเสพติด แรงงานข้ามชาติ และเด็กที่ได้รับผลกระทบจากเอดส์ และนำไปสู่การขยายผลและทำให้เกิดความยั่งยืน

โครงการปรับภารกิจการจัดการปัญหาเอดส์ โครงการ ระบบบริการให้การปรึกษาแบบคู่ เพื่อตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวี สำหรับหญิงตั้งครรภ์และสามี วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนารูปแบบแนวทางการดำเนินงาน และขยายเครือข่ายบริการให้การปรึกษาแบบคู่สำหรับหญิงตั้งครรภ์และสามี ในโรงพยาบาล 2. เพื่อนิเทศติดตามประเมินผลการให้บริการแบบคู่เพื่อตรวจหาการติดเชื้อ เอชไอวี สำหรับหญิงตั้งครรภ์และสามี

โครงการ พัฒนาระบบกำกับติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาระบบควบคุมกำกับ และติดตามการดำเนินงานป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อ เอชไอวี จากแม่สู่ลูก 2. เพื่อการส่งเสริมการใช้ประโยชน์ จากข้อมูลของระบบควบคุมกำกับ และติดตามการดำเนินงานป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อ เอชไอวี จากแม่สู่ลูกในการพัฒนาระบบบริการให้มีประสิทธิภาพ

เด็กไทยสูงใหญ่ สมองดี มีทักษะชีวิต สิ่งที่ดำเนินการ พัฒนาโรงเรียนให้ได้มาตรฐาน สร้างการมีส่วนร่วมกับภาคีเครือข่ายอย่างเข้มแข็ง สร้างกระแสขับเคลื่อนสังคมและเสริมแรงจูงใจ พัฒนาองค์ความรู้เทคโนโลยีและนวตกรรม ความต้องการ มีนโยบายร่วมที่ชัดเจนและต่อเนื่อง มีการสนับสนุน งปม.ที่ชัดเจนและเพียงพอ มีการบูรณาการงานร่วมกันอย่างชัดเจน มีการพัฒนาบุคลากร ปัจจัยความสำเร็จ 1. เป็นการสนองงานตามพระราชดำริ 2. นโยบายสอดคล้องและเชื่อมโยงกับมาตรฐานการศึกษา 3. ผู้บริหาร ร.ร.ให้ความสำคัญและทีมงานเข้มแข็ง 4. ภาคีเครือข่ายสนับสนุนอย่างเข้มแข็ง 5. การประกาศเกียรติคุณและสร้างขวัญกำลังใจ เป้าหมาย 1. เด็กวัยเรียนอ้วนไม่เกิน 15% 2. เด็กวัยเรียนอายุ 6 - 12 ปี ส่วนสูงอยู่ในเกณฑ์ดีและสมส่วน ไม่น้อยกว่า 70 % 3. ร.ร.HPS เพชร ผ่านเกณฑ์ ฯ ใน ปี 58 เขตพื้นที่การศึกษาละ 2 แห่ง 4. เด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร เตี้ย ผอม ไม่เกิน 5 % 5. ร.ร.ในถิ่นทุรกันดารเป็นโรงเรียน ส่งเสริมสุขภาพ เด็กไทยสูงใหญ่ สมองดี มีทักษะชีวิต

โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับเพชร

โครงการ/กิจกรรมดำเนินการ ปี 2556 สำนัก /กอง : ส่วนกลาง ศูนย์อนามัยร่วมกับจังหวัด 1. พัฒนามาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร : จัดประชุมทบทวน , จัดทำคู่มือมาตรฐาน 1. ร่วมพัฒนามาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร : เข้าร่วมประชุม นำคู่มือไปใช้ 2. สัมมนาวิชาการโครงงานสุขภาพ ในการส่งเสริม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาสุขภาพและสภาพแวดล้อมในโรงเรียน/ชุมชน สู่กระบวนการคิดเป็นทำเป็น เสริมสร้างสติปัญญา สมองดี (IQ , EQ) : จัดทำเกณฑ์ตัดสินโครงงานสุขภาพ 2. ประสานงาน คัดเลือก และ เสนอโครงงานสุขภาพ เข้าประกวด , เข้าร่วมสัมมนา 3. สุ่มประเมินรับรอง ประเมิน ประกวด ประกาศเกียรติคุณ 3. ประเมินและรับรองโรงเรียน และประกาศเกียรติคุณ

โครงการส่งเสริมโภชนาการ และสุขภาพอนามัยเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ตามแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย ปี 2556 Output : จำนวนบุคลากร และประชาชน ในถิ่นทุรกันดารได้รับการพัฒนา ด้านการส่งเสริมสุขภาพ และ อนามัยสิ่งแวดล้อม 2,500 ราย Outcome : ร้อยละ 30 ของโรงเรียน ในถิ่นทุรกันดาร ผ่านเกณฑ์ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง Impact : ร้อยละ 70 ของเด็กและเยาวชน ในถิ่นทุรกันดารมีการเจริญเติบโต ตามเกณฑ์

ประชากรวัยทำงานมีสุขภาพ สิ่งที่ดำเนินการ 1. จัดทำโครงการ และ KPI : โครงการหลัก 2. จัดทำมาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ระดับสุขภาพ 3. บูรณาการงานต่าง ๆ 4. พัฒนาศักยภาพบุคลากร ปัจจัยความสำเร็จ - นโยบายที่ชัดเจน และต่อเนื่อง - การบูรณางานกับหน่วยงานอื่น - ระบบการติดตามประเมินผลต่อเนื่อง - การพัฒนาศักยภาพบุคลากรอย่างต่อเนื่อง - ความเข้มแข็งของภาคีเครือข่าย ความต้องการ 1. นโยบายที่ต่อเนื่อง 2. งบประมาณ (2.9) ขอสนับสนุนงบประมาณ 2.1 เป็นเจ้าภาพในการจัดการประชุม 2.1.1 เวทีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับชาติ 2.1.2 เวทีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพนานาชาติ ในปี 2558 2.1.3 การอบรม อสม. เชี่ยวชาญ เพื่อให้เกิดการดำเนินงานให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ทั่วประเทศ สถานการณ์ - อัตราการตายด้วยมะเร็งเต้านม 7.7 : ประชากร 2 คน - สตรีมีการตรวจเต้านมตนเอง ร้อยละ 74.4 - ประชากรมีความรู้เรื่องวัยทอง - ชายวัยทอง ร้อยละ 7.4 - หญิงวัยทอง ร้อยละ 13.5 - ประชากรมีอาการวัยทอง - ชายวัยทอง ร้อยละ 13.5 - หญิงวัยทอง ร้อยละ 29.0 - ร้อยละโรงพยาบาลใน / นอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข มีกระบวนการเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 73.25 ประชากรวัยทำงานมีสุขภาพ

โครงการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนากระบวนการส่งเสริมสุขภาพของโรงพยาบาลให้ได้มาตรฐาน เป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพที่มีการบูรณาการ การดำเนินงานไปพร้อมกับการป้องกันโรค รักษาพยาบาล และฟื้นฟูสภาพควบคู่ไปกับกระบวนการพัฒนา และ รับรองมาตรฐานคุณภาพโรงพยาบาล และ การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า

โครงการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตัวชีวัด : จำนวนโรงพยาบาลที่สมัครใจพัฒนาตนเอง เป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพคุณภาพ ตามมาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ปี 2555 เป้าหมาย : อย่างน้อยศูนย์อนามัยละ 2 แห่ง

โครงการดูแลและเฝ้าระวังสตรีไทย จากมะเร็งเต้านม วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมให้สตรีไทยตรวจเต้านม ด้วยตนเองอย่างถูกต้องและสม่ำเสมอ ตัวชีวัด / ค่าเป้าหมาย : สตรีมีการตรวจเต้านมด้วยตนเอง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

โครงการส่งเสริมสุขภาพประชากรวัยทอง วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ และศักยภาพบุคลากร ด้านการส่งเสริมและการดูแลสุขภาพประชากรวัยทอง 2. เพื่อสร้างเครือข่ายในการพัฒนางานส่งเสริมสุขภาพประชากรวัยทอง 3. เพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพประชากรวัยทอง

โครงการส่งเสริมสุขภาพประชากรวัยทำงาน ในสถานประกอบการ โครงการส่งเสริมสุขภาพประชากรวัยทำงาน ในสถานประกอบการ วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อติดตามผลการดำเนินงานการส่งเสริมสุขภาพ ในสถานประกอบการแบบ Supply chain 2. เพื่อเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารการส่งเสริมสุขภาพ ในสถานประกอบการ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ ในสถานประกอบการ

80 ปียังแจ๋ว สุขภาพดีมีมาตรฐาน (ผู้สูงอายุที่พึงประสงค์) สิ่งที่ดำเนินการ พัฒนาคน เตรียมพร้อม เพื่อก้าวสู่สังคมสูงอายุที่มีคุณภาพ พัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุให้ได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับทั้งในและต่างประเทศ พัฒนาคน เพื่อเป็นต้นแบบการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุระดับอาเซียน ความต้องการ การสนับสนุนจากผู้บริหารที่ชัดเจนและต่อเนื่อง งบประมาณที่เพียงพอ (ขณะนี้มีอยู่ 2.3 ล้านบาท ต้องการงบประมาณเพิ่มเติมอีก 15 ล้านบาท เพื่อดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ผู้สูงอายุ ภายใต้แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ) การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน และฐานข้อมูล 1 - 2 ฐาน นักวิชาการเพิ่มอีก 3 - 5 คน (ซึ่งขณะนี้มีนักวิชาการปฏิบัติงานจริง 3 คน พนักงานราชการ 1 คน) ปัจจัยความสำเร็จ ผู้บริหารทุกระดับให้ความสำคัญ นโยบายชัดเจน และต่อเนื่อง งบประมาณ และบุคลากรที่เพียงพอ มีการบริหารจัดการที่ดีทั้งส่วนกลางและระดับภูมิภาค ผู้สูงอายุจัดการสุขภาพตนเองได้ มีส่วนร่วมในกิจกรรมชุมชน ท้องถิ่น ภาคีเครือข่ายมีความเข้มแข็ง และให้ความร่วมมือ ระบบติดตาม ประเมินผล และการสื่อสารที่ดี สถานการณ์ พัฒนาทักษะ กาย และใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ผู้สูงอายุในชุมชนมีสุขภาพอนามัย ที่พึงประสงค์ > 30 % จำนวนอำเภอที่มีตำบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์ > 20 % จำนวนอำเภอผ่านเกณฑ์ อำเภอ 80 ยังแจ๋ว อย่างน้อย 1 จังหวัด 1 อำเภอ จำนวนวัดส่งเสริมสุขภาพปลอดโรคผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน > 20 % 80 ปียังแจ๋ว สุขภาพดีมีมาตรฐาน (ผู้สูงอายุที่พึงประสงค์) อายุยืนนาน พึ่งตนเอง ช่วยสังคม 26

โครงการพัฒนา“อำเภอสุขภาพดี 80 ปียังแจ๋ว” วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากร และภาคีเครือข่าย การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ 2. เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยี วิชาการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ 3. เพื่อเชิดชูเกียรติผู้สูงอายุสุขภาพดีต้นแบบ และ ภาคีเครือข่ายที่มีผลการดำเนินงานดีเด่น 4. เพื่อเตรียมการรองรับระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวโดยท้องถิ่น ชุมชนมีส่วนร่วม

โครงการพัฒนา“อำเภอสุขภาพดี 80 ปียังแจ๋ว” ตัวชีวัด / ค่าเป้าหมาย : จำนวนอำเภอที่เข้าร่วมกระบวนการ “อำเภอสุขภาพดี 80 ปี ยังแจ๋ว” 76 แห่ง (จังหวัดละ 1 อำเภอ)

โครงการพัฒนาวัดส่งเสริมสุขภาพปลอดโรค ปี 2556 โครงการพัฒนาวัดส่งเสริมสุขภาพปลอดโรค ปี 2556 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อจัดทำเกณฑ์วัดส่งเสริมสุขภาพปลอดโรค และคู่มือการดำเนินงานสื่อต่าง ๆ 2. พัฒนาองค์ความรู้แก่บุคลากรแกนนำในการขับเคลื่อนวัดส่งเสริมสุขภาพปลอดโรค 3. ออกแบบเครื่องมือในการประเมินความพึงพอใจ และการติดตามผล ตัวชี้วัด / ค่าเป้าหมาย ร้อยละวัดส่งเสริมสุขภาพ/ปลอดโรคผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน: ร้อยละ 20

โครงการพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพ ผู้สูงอายุระยะยาวโดยชุมชนเป็นฐาน โครงการพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพ ผู้สูงอายุระยะยาวโดยชุมชนเป็นฐาน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว โดยชุมชนเป็นฐาน 2. เพื่อพัฒนาระบบบริการและการบริหารจัดการที่เหมาะสมตามบริบทของพื้นที่ 3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุและชุมชนพึ่งตนเอง จัดการดูแลสุขภาพตนเองและผู้สูงอายุในชุมชนได้ 4. ขยายผลการดำเนินงานสู่พื้นที่ข้างเคียง เพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุที่มีคุณภาพ

โครงการพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวโดยชุมชนเป็นฐาน ตัวชีวัด / ค่าเป้าหมาย : จำนวนอำเภอที่มีตำบลผ่านเกณฑ์ ตำบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว : 175 แห่ง

หฟกฟหกฟหก 32 32 32