แผนบริหารราชการแผ่นดิน และแผนปฏิบัติราชการ กระทรวงสาธารณสุข พ. ศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
เป้าหมาย ตัวชี้วัด ปี 2557.
ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
วิสัยทัศน์ องค์กรหลักของประเทศในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี 1.
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
แผนภูมิโครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
กระทรวงสาธารณสุข (ร่าง)โครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
นโยบายการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ภารกิจ(3)ประเด็นหลัก(5)หัวข้อ (19) 1. การตรวจติดตาม นโยบายและปัญหา เร่งด่วนของกระทรวง สาธารณสุข 1. การดำเนินงานเพื่อ.
จังหวัดสุพรรณบุรี. วันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๕ เขต มอบนโยบายการจัดทำแผน สุขภาพเขต การประชุมระดับเขต ครั้งที่ ๑ วันที่ ๑๓ – ๑๔ ธันวาคม ๒๕๕๕ แบ่งการ ดำเนินงานออกเป็น.
เป้าหมายการให้บริการและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
ความหมายและกระบวนการ
แผนการประชุม จัดทำแผนปฏิบัติการ ๒๕๕๖
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ยุทธศาสตร์ กรมสุขภาพจิต
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แนวทางการดำเนินงานของกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ 2551
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
LOGO งาน High Light การพัฒนา สุขภาพ จังหวัดลพบุรี ประจำปี 2552.
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แผนเชิงรุกการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2551 โดยคณะทำงานยกร่างแผนงานเชิงรุก กระทรวงสาธารณสุข-สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ นพ.ชูวิทย์
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
นโยบายด้านบริหาร.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ความท้าทาย....ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
การปฏิบัติตามนโยบาย ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การตรวจราชการ ปีงประมาณ 2558
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
Pass:
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
กลยุทธ์การขับเคลื่อน งานพัฒนาชุมชน ให้มีประสิทธิภาพ ประจำปี ๒๕๕๖
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ประชุมประสานแผนทันตฯ จังหวัด หนองบัวลำภู ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ห้องประชุม สสอ. เมือง.
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
Company LOGO รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน 20 ตุลาคม 2557.
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนบริหารราชการแผ่นดิน และแผนปฏิบัติราชการ กระทรวงสาธารณสุข พ. ศ แผนบริหารราชการแผ่นดิน และแผนปฏิบัติราชการ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.๒๕๕๖-๒๕๕๙ 1

ความเป็นมา แผนบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๘ แบ่งเป็น ๘ นโยบาย นโยบายเร่งด่วนจะเริ่มดำเนินการในปีแรก นโยบายความมั่นคงของรัฐ นโยบายเศรษฐกิจ นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและนวตกรรม นโยบายการต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ นโยบายการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ความเป็นมาที่ต้องประกาศปฏิญญา กระทรวงสาธารณสุข ได้ปรับปรุงบทบาท กำหนดให้มี 4 ระบบ โดยมีหน่วยงานเจ้าภาพรับผิดชอบ ในการมองภาพรวมระดับประทศ เป็นที่เข้าในกันว่าระบบส่งเสริมสุขภาพรวมอนามัยสิ่งแวดล้อม 2

แผนปฏิบัติราชการกระทรวงสาธารณสุข ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๙) แผนปฏิบัติราชการกระทรวงสาธารณสุข ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๙) เกี่ยวข้อง นโยบายรัฐบาล ๓ นโยบาย นโยบายที่ ๑ นโยบายเร่งด่วนที่จะดำเนินการ ในขวบปีแรก นโยบายที่ ๒ นโยบายความมั่นคงแห่งรัฐ นโยบายที่ ๔ นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต

นโยบายรัฐที่ ๑ นโยบายเร่งด่วนปีแรก 1.2 การแก้ไขปัญหายาเสพติด เป็นวาระแห่งชาติ กระทรวง: ศูนย์บำบัด ฟื้นฟู และเฝ้าระวังป้องกัน 1.5 สันติสุข ปลอดภัย ในพื้นที่ชายแดนใต้ กระทรวง: อัตราป่วย/ตาย ๓ อันดับชายแดนใต้ลดลงร้อยละ ๕ ต่อปี 1.14 พัฒนาระบบประกันสุขภาพ กระทรวง: คนไทยมีหลักประกัน บริการทั่วถึง มีคุณภาพ /ระบบการแพทย์ฉุกเฉินที่มีคุณภาพ ทั่วถึง เท่าเทียม

นโยบายรัฐที่ ๒ ความมั่นคงแห่งรัฐ ๒.๑ เทิดทูนและพิทักษ์ไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ ๒.๔ พัฒนาระบบการเตรียมความพร้อมแห่งชาติ นโยบายรัฐที่ ๔ นโยบายสังคม และคุณภาพชีวิต นโยบายข้อ ๓ เร่งรัดสร้างสุขภาพเพื่อลดป่วย ตายจาก NCD นโยบายข้อ ๔ คุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพและอาหารปลอดภัย นโยบายข้อ ๗ สร้างแรงจูงใจ เพิ่มขีดความสามารถอสม. นโยบายข้อ ๑๔ พัฒนา บังคับใช้กม.ให้เอื้อประโยชน์ต่องานสาธารณสุข นโยบายข้อ ๑๖ มีการสื่อสารสาธารณะ ให้ความรู้ปชช.ทั่วถึง

นโยบายรัฐที่๔ นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต ประเด็นที่ ๔.๓ นโยบายการพัฒนาสุขภาพประชาชน รัฐบาล รมต. กระทรวง ลงทุนด้านบริการ ระบบบริการ/ พัฒนาระบบบริการ /บุคลากร ค่าตอบแทน มาตรการสร้างสุขภาพ อาหารปลอดภัย อาหารปลอดภัย ครัวไทยครัวโลก เมนูชูสุขภาพ อาหารฮาลาล อาหารฮาลาล อาหารฮาลาล คุ้มครองผู้บริโภค กลุ่มวัยต่างๆ กลุ่มเฉพาะ ๔ กลุ่ม พัฒนาศูนย์เด็กเล็ก เด็ก ๐-๖ ปี บัตรสุขภาพเด็ก ศูนย์ ๓ C สุขภาพแม่ตั้งครรภ์ ศูนย์ ๓ C พัฒนาการเด็กปฐมวัย พัฒนาการเด็ก รร.ส่งเสริมสุขภาพ ANC คุณภาพ ตั้งครรภ์วัยรุ่น ๗๐ ปี ไม่มีคิว เสริมสร้างสุขภาพสตรีไทย ดูแลผสย.พิการ ออกกำลังกาย/คนไทยไร้พุง ลดการเจ็บป่วยเรื้อรัง สร้างนำซ่อมสุขภาพ สุขภาพดีวิถีไทย

กลยุทธ์/วิธีการดำเนินการ ในแผนบริหารราชการแผ่นดิน พัฒนาระบบและกลไกการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค และปัจจัยเสี่ยงที่คุกคามต่อสุขภาพและระบบเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข เสริมสร้างความรู้และพัฒนาทักษะในการดำเนินชีวิตและการสร้างเสริมสุขภาพที่จะนำไปสู่การดูแลตนเองด้านสุขภาพ เสริมสร้างความเข้มแข็งและกระบวนการเรียนรู้ให้แก่ผู้บริโภค รวมทั้งสนับสนุนให้มีกลไกการคุ้มครองผู้บริโภคภาคประชาชน พัฒนาขีดความสามารถของอสม. ในการดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพและสร้างเสริมเครือข่ายในการพัฒนาและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขชุมชน ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยพัฒนาสุขอนามัย พัฒนาเครือข่ายบริการ ระบบบริการ ระบบการฟื้นฟูสุขภาพ โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ และคนพิการ

แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี(๒๕๕๖-๒๕๕๙) กระทรวงสาธารณสุข วิสัยทัศน์ : เป็นองค์กรหลักในการพัฒนาระบบสุขภาพ โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดี พันธกิจ พัฒนาและบริหารนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เสริมมสร้างระบบบริหารจัดการอย่างมีธรรมาภิบาล และจัดระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพมาตรฐาน เสริมสร้างการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการพัฒนาระบบสุขภาพ วิจัยและพัฒนาและการจัดการความรู้ด้านสุขภาพ

แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี(๒๕๕๖-๒๕๕๙) กระทรวงสาธารณสุข เป้าประสงค์เชิงนโยบาย(ข้อ ๔.๓ การพัฒนาสุขภาพประชาชน) : เสริมสร้างระบบสุขภาพให้มีคุณภาพและ มาตรฐาน เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดี เป้าหมายบริการระดับกระทรวงสาธารณสุข เป้าประสงค์ ๑ ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องและอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม สามารถลดภาระโรคและภัยคุกคาม ตลอดจนได้รับการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ เป้าประสงค์ ๒ ประชาชนได้รับบริการสุขภาพทั้งในภาวะปกติและฉุกเฉินที่มีคุณภาพมาตรฐานอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม

เป้าหมายบริการข้อ ๑ พฤติกรรม สนองนโยบาย ๔.๓ การพัฒนาสุขภาพของประชาชน เป้าหมายบริการข้อ ๑ พฤติกรรม สนองนโยบาย ๔.๓ การพัฒนาสุขภาพของประชาชน ยุทธ์ ๑ เสริมสร้างให้ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง เหมาะสม และพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพ ระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค ภัยสุขภาพ การฟื้นฟูสมรรถภาพและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพให้มีประสิทธิภาพ หน่วยงานรับผิดชอบ : สำนักงานปลัดกระทรวง กรมควบคุมโรค กรมอนามัย กรมสุขภาพจิต กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ สำนักคณะกก.อาหารและยา องค์การเภสัชกรรม

เป้าหมายบริการข้อ ๑ พฤติกรรม สนองนโยบาย ๔.๓ การพัฒนาสุขภาพของประชาชน เป้าหมายบริการข้อ ๑ พฤติกรรม สนองนโยบาย ๔.๓ การพัฒนาสุขภาพของประชาชน ยุทธ์ ๒ พัฒนาศักยภาพอสาสมัครสาธารณสุข ภาคีเครือข่ายและอปท.ในการดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ หน่วยงานรับผิดชอบ : กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

เป้าประสงค์ ๑ ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องและอยู่สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ประเด็นยุทธ์ ๑ และ ๒ ตัวชี้วัด ๑. อัตราตายทารก ไม่เกิน ๑๕ ต่อการเกิดมีชีพพันคน ต่อปี ๒. อัตราส่วนการตายมารดา ไม่เกิน ๑๘ ต่อการเกิดมีชีพแสนคน ต่อปี ๓. อัตราตายโรคหลอดเลือดสมองลดลงร้อยละ ๒ ต่อปี ๔. อัตราตายโรคหัวใจขาดเลือดลดลง ร้อยละ ๑ ต่อปี ๕. จำนวนผู้ติดเชื้อ เอชไอวี รายใหม่ (ปี๒๕๕๕=๗,๕๐๐ ราย ปี ๒๕๕๖=๖,๒๐๐ ราย) ๖. อัตราการป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง ร้อยละ ๐.๑๒ ต่อปี ๗. อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ ไม่เกิน ๖.๕ ต่อประชากรแสนคน ต่อปี ๘. ร้อยละของตำบลที่มีการจัดการสุขภาพที่เข้มแข็งตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด (ปี ๒๕๕๕ = ๑๐ % ปี ๒๕๕๖ = ๒๐%) ๙. ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ (ปี ๒๕๕๕ = ๙๒ % ปี ๒๕๕๖ = ๙๓%)

เป้าหมายบริการข้อ ๒ ปชช. ได้รับบริการคุณภาพ สนองนโยบาย ๔ เป้าหมายบริการข้อ ๒ ปชช.ได้รับบริการคุณภาพ สนองนโยบาย ๔.๓ การพัฒนาสุขภาพของประชาชน ยุทธ์ ๓ พัฒนาระบบบริหารและระบบบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขทั้งภาวะปกติและภาวะฉุกเฉิน รวมทั้งผลิตบุคลากรด้านการแพทย์และสาธารณสุขให้เพียงพอ หน่วยงานรับผิดชอบ : สำนักงานปลัดกระทรวง กรมการแพทย์ กรมสุขภาพจิต สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล

เป้าหมายบริการข้อ ๒ ปชช. ได้รับบริการคุณภาพ สนองนโยบาย ๔ เป้าหมายบริการข้อ ๒ ปชช.ได้รับบริการคุณภาพ สนองนโยบาย ๔.๓ การพัฒนาสุขภาพของประชาชน ยุทธ์ ๔ พัฒนาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านและการแพทย์ทางเลือกให้มีคุณภาพ หน่วยงานรับผิดชอบ : กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก

เป้าหมายบริการข้อ ๒ ปชช. ได้รับบริการคุณภาพ สนองนโยบาย ๔ เป้าหมายบริการข้อ ๒ ปชช.ได้รับบริการคุณภาพ สนองนโยบาย ๔.๓ การพัฒนาสุขภาพของประชาชน ตัวชี้วัดยุทธ์ ๓ - ๔ ร้อยละสถานบริการภาครัฐผ่านการรับรองมาตรฐาน HA จน.ปชช.ที่เจ็บป่วยฉุกเฉินได้รับบริการการแพทย์ฉุกเฉินที่มีคุณภาพ ร้อยละความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของสถานบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ร้อยละของประชาชนได้รับบริการผู้ป่วยนอกด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

สนองนโยบาย ๒ นโยบายเร่งด่วนที่จะดำเนินการในปีแรก ยุทธ์ ๕ : การพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด : ระดับคะแนนความพึงพอใจของปชช.ต่อระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า หน่วยงาน : ส.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

สนองนโยบาย ๒ นโยบายเร่งด่วนที่จะดำเนินการในปีแรก ยุทธ์ ๖ :พัฒนาระบบบริการสุขภาพในจังหวัดชายแดนภาคใต้ให้สอดคล้องกับสถานการ์และสภาพแวดล้อมโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ตัวชี้วัด : อัตราป่วยหรือตายด้วยปัญหาสุขภาพที่สำคัญของปชช.ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ๓ อันดับแรก หน่วยงาน : สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กรมสุขภาพจิต

สนองนโยบาย ๒ นโยบายเร่งด่วนที่จะดำเนินการในปีแรก ยุทธ์ ๗ :เสริมสร้างระบบเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันบำบัดรักษาและฟื้นฟูสภาพของประชาชนผู้เสพ ผู้ติดยาและสารเสพติดให้มีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด : ร้อยละของปชช.ผู้เสพ ผู้ติดยา และสารเสพติดผ่านการบำบัดรักษา และฟื้นฟูตามเกณฑ์ที่กกำหนด หน่วยงาน : สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กรมสุขภาพจิต กรมการแพทย์ อย. กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

สนองนโยบาย ๒ นโยบายเร่งด่วนที่จะดำเนินการในปีแรก ยุทธ์ ๘ : พัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินที่มีคุณภาพมาตรฐานอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม ทั้งภาวะปกติและภัยภิบัติ ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ป่วยฉุกเฉินที่มาด้วยระบบ การแพทย์ฉุกเฉิน หน่วยงาน : สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ

ข้อเสนอเชิงนโยบาย “ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคทุกกลุ่มวัย เพื่อคนไทยสุขภาพดี” กลุ่มเป้าหมาย ขนาดปัญหา ข้อเสนอเชิงนโยบาย กลุ่มเด็ก ๐-๕ ปี - พัฒนาสมวัยร้อยละ ๖๗ บ้าน:แจก Book start   - ๖-๑๑ ด.โลหิตจาง ๕๖.๓ % รพ.:คัดกรอง/เสริมเหล็ก ๑-๕ ปี โลหิตจาง ๒๕.๙ % ฟันผุ ๙๒ % ศูนย์เด็กนิทานไม่พอ ๖๐% ศูนย์เด็ก: มาตรฐานโครงสร้าง /ครูพี่เลี้ยงดูแลสุขภาพ เด็กวัยเรียน - สายตาผิดปกติ ๑๓ % รร.ตรวจคัดกรองและส่งต่อ รพ.: ตรวจวัดแก้ไขให้แว่นตา - ๑๕ ปีขึ้นไปนน.เกินและอ้วน เขตเมือง ๑๓.๑ % เขตชนบท ๘.๒ % รร.: เพิ่มชม.พละศึกษา/ปรับพฤติกรรม ลดการโฆษณาเครื่องดื่มรสหวาน

ข้อเสนอเชิงนโยบาย “ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคทุกกลุ่มวัย เพื่อคนไทยสุขภาพดี” กลุ่มเป้าหมาย ขนาดปัญหา ข้อเสนอเชิงนโยบาย วัยรุ่น - อัตราแม่วัยรุ่น ๑๓.๕ % รร.: สอนเพศศึกษาเด็กมัธยม   - ร้อยละ ๘๐ ตั้งครรภ์ไม่ได้ตั้งใจ รณรงค์/เข้าถึงบริการถุงยางอนามัย เพิ่มการเข้าถึงบริการยุติการตั้งครรภ์ - รพ.มีคลินิคบริการปรึกษา ส่งต่อ - "ยุติตั้งครรภ์"อยู่ในสิทธิประโยชน์ - ขึ้นทะเบียนยาทำแท้งที่ WHOแนะนำ วัยทำงาน อัตราป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะ DM HT HD พัฒนาระบบการคัดกรอง รักษา ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง ผู้สูงอายุ สัดส่วนเพิ่มจาก ๗.๔ %ปี ๓๔ เป็น พัฒนากำลังคนผู้ดูแลผู้สูงอายุ ๑๐.๗ % ปี ๕๐ / ๒๐ % ปี ๖๘ และ๒๕ % ปี ๗๓ PCU มีบริการดูแลและฟื้นฟูสุขภาพ ดูแลสถานบริการ LTC ให้มีมาตรฐาน