การพัฒนางานอนามัยแม่และเด็ก [การแก้ไขปัญหา LBW]

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงงาน เรื่อง การมีเพศสัมพันธ์ก่อนอันสมควร
Advertisements

การดูแลระยะตั้งครรภ์
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
การดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
แนวทางการบูรณาการ อพม.กับโครงการพัฒนาตำบลต้นแบบ
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล คอนสาย-ค้อใหญ่
ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด : 1. นายสืบพงษ์ ไชยพรรค ผู้อำนวยการกองแผนงาน
การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ในทัณฑสถานหญิงจังหวัดเชียงใหม่
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
การพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก ทิศทางก้าวไกล สู่ คุณภาพ มาตรฐาน และ ความปลอดภัย นพ.สมชาย เชื้อเพชระโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต.
การพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
การส่งเสริมสุขภาพเด็กไทยวันนี้
การให้การปรึกษาทางพันธุศาสตร์ ธาลัสซีเมีย
กลุ่มงานสูตินรีเวชกรรม โรงพยาบาลน่าน
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
หัวหน้ากลุ่มโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
13/12/2007แผนยุทธศาสตร์ประจำปี 2551 โรงพยาบาลหนองม่วง 2 จำนวนการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นที่อายุต่ำกว่า 20 ปีเพิ่มขึ้น ปี 2549 มีจำนวน 41 คน ปี 2550 มีจำนวน.
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ไข้เลือดออก.
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
ทศวรรษการพัฒนาเด็กไทย
โดย นายแพทย์ดนัย ธีวันดา ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ปีงบประมาณ 2553
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
การดำเนินงานแก้ไขปัญหา การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด ห้องคลอด
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
งานพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
ความสำเร็จของการทำงานอนามัยแม่และเด็ก
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
Pass:
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ร้อยละของของเด็กตั้งแต่แรกเกิด - 6 เดือน แรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวมากกว่า หรือเท่ากับ 60.
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
SAR2011 ข้อ III 4.3 ฉ : การฟื้นฟูสภาพ
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI )
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
ประเด็นยุทธศาสตร์พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนางานอนามัยแม่และเด็ก [การแก้ไขปัญหา LBW] [อำเภอโพนนาแก้ว จังหวัดสกลนคร] 10 พ.ค.53

สรุปข้อมูลทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย อัตราการคลอดทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยตั้งแต่ปี 2550 ถึง มี.ค.53 ทบทวนสรุปข้อมูลจากรายงาน ก.2 9.9 % ร้อยละ 8.7 % 6.2 % 5.6 % ปีงบประมาณ 2550 2551 2552 2553

ศึกษาปัจจัยที่อาจมีผลต่อ LBW คลอดทั้งหมด 433 คน ปี 2552 คลอด 273 คน ปี 2553 คลอด 160 คน กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา 162 คน ปี 2552 คลอด 101 คน ปี 2553 คลอด 61 คน LBW ที่ศึกษา 52 คน ปี 2552 คลอด 50 คน ปี 2553 คลอด 2 คน

ปัจจัยที่ศึกษา ข้อมูลทั่วไปของมารดา : อายุ น้ำหนัก ส่วนสูง BMI โรคประจำตัว ลำดับครรภ์ ประวัติการคลอด ข้อมูลด้านสังคม : ระดับการศึกษา อาชีพ ความสัมพันธ์ในครอบครัว ระยะทางจากบ้านถึงหน่วยบริการ การตั้งครรภ์ที่พึง/ไม่พึงประสงค์ ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ : อาชีพ รายได้ต่อเดือน ข้อมูลพฤติกรรม : การดื่มสุรา การสูบบุหรี่ การดื่มกาแฟ การบริโภคไข่ การดื่มนม การดื่มน้ำอัดลม การนอนหลับพักผ่อน การนอนกลางวัน การกินยา

ปัจจัยที่ศึกษา ข้อมูลเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ปัจจุบัน : ลำดับการตั้งครรภ์ จำนวนครั้งการคลอด การแท้ง จำนวนบุตรมีชีวิต อายุบุตรคนสุดท้าย ประวัติLBW/ Preterm ประวัติการผ่าคลอด DFIU IUGR เลือดออกผิดปกติระหว่างคลอด Hct. การฝากครรภ์คุณภาพ น้ำหนักที่ขึ้นระหว่างท้อง GAเมื่อคลอด ระยะห่างของการมีบุตร ข้อมูลทั่วไปของทารกที่คลอด : เพศ APGAR รูปแบบการคลอด ความพิการแต่กำเนิด น้ำหนักเด็ก ลักษณะรก น้ำหนักรก

ปัจจัยที่พบว่าน่าจะมีผลต่อการคลอด LBW ร้อยละ 19.2 สูบบุหรี่หรือได้รับควันบุหรี่จากคนรอบข้าง ร้อยละ 46.2 นอนพักผ่อน < 8 ชั่วโมง ร้อยละ 32.7 ไม่ได้นอนพักกลางวัน ระดับความเข้มข้นของเลือดขณะตั้งครรภ์ ร้อยละ 7.7 มี Hct. < 30 mg.% ร้อยละ 67.3 มี Hct. < 35 mg.% การคลอดก่อนกำหนด ( GA < 37 สัปดาห์ ) ร้อยละ 11.5 คลอดก่อน 37 สัปดาห์

ปัจจัยที่พบว่าน่าจะมีผลต่อการลด LBW พฤติกรรมการดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภ์ ร้อยละ 84.6 บริโภคไข่มากกว่า 3 ฟองต่อสัปดาห์ ร้อยละ 26.9 ดื่มนมทุกวัน ร้อยละ 86.5 กินยาสม่ำเสมอ ข้อมูลด้านสังคม ร้อยละ 92.3 อยู่ร่วมกันกับสามี ร้อยละ 76.9 มีระยะทางจากบ้านถึงสถานบริการน้อยกว่า 5 กม. ร้อยละ 40.4 มีรายได้ต่อเดือนระหว่าง 2000 -5000 บาท

การดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหา LBW ดำเนินการโดย MCH board และทีม PCT รพ.โพนนาแก้ว ปรับแนวทางให้ยา FBC , MTV พบแพทย์ 1 ครั้ง ติดตามเด็ก 1 ปี ปรับปรุง CPG FBC,MTV, Folic พบแพทย์ 1 ครั้ง ติดตามเด็ก 1 ปี รร. พ่อ-แม่ ปรับปรุง CPG FBC plus, Folic พบแพทย์ 2 ครั้ง เฝ้าระวัง SGA รร.พ่อ-แม่ เข้มข้น จัดกลุ่ม PL ศึกษา LBW FBC plus, Ca พบแพทย์ 2 ครั้ง เฝ้าระวัง SGA รร.พ่อ-แม่ เข้มข้น จัดกลุ่ม PL 2550 2551 2552 2553

CPG คิด ทำ กลยุทธ์ในการพัฒนา 20,28,36 ถ้าเพิ่ม < 1 กก.ต่อเดือน - กำหนดเกณฑ์เสี่ยง LBW ประเมินน้ำหนักที่ GA 20,28,36 ถ้าเพิ่ม < 1 กก.ต่อเดือน ส่งพบแพทย์ทุกราย ข้อมูล ที่ได้จาก การศึกษา CPG - ปรับกระบวนการให้สุขศึกษา เป็นให้การปรึกษา ทบทวน แนวปฏิบัติ - แนะนำการนอนพัก อาหารพลังงานสูงที่มีโปรตีน ไม่เกิน 1 ใน 4 ส่วน ( 25% ) - ปรับยาเป็น FBC plus / Folic / Calcium carbonate 1000 mg. (ให้ Calcium 400 mg.) กำหนด เป้าหมาย คิด ทำ

การวัด ประเมินผลและผลสัมฤทธิ์ กระบวนการวัดและประเมินผล PCU เก็บข้อมูล ระหว่างการฝากครรภ์ / การคลอด ห้องคลอด รวบรวมข้อมูลจากแบบเก็บข้อมูล ทีมวิเคราะห์ผล ดำเนินการวิเคราะห์ด้วย SPSS ทีม MCH Board สรุปผลและนำไปปรับกระบวนการดูแล ผลสัมฤทธิ์ ลดอัตรา LBW จากปี2552 ร้อยละ 9.9 เป็นร้อยละ 5.6 (วัดผล ณ 31 มีนาคม 2553 )

กลยุทธ์ที่นำไปสูความสำเร็จ แผนการดำเนินการ เปิดตัว Project โดยแพทย์และทีม MCH Board นำไปสู่การปฏิบัติโดยผู้รับผิดชอบงานตรง ทุกสถานีอนามัย การปรับวิธีการ Approach Case ทีภาวะเสี่ยงต่อการคลอด LBW งบประมาณในการดำเนินการ ได้รับสนับสนุนงบประมาณจาก อบต. เช่น อบต.นาแก้ว และ อบต.บ้านโพน สนับสนุน นมสำหรับหญิงตั้งครรภ์ ศึกษาปัจจัย LBW ระยะที่ 1 ปรับวิธี Approach ระยะที่ 2 ดำเนินการโรงเรียนพ่อ-แม่ ทุก สอ. ระยะที่ 3 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ก.ย.

สิ่งที่ต้องดำเนินการต่อไป เป้าหมายในปีแรก2553 เป็นไปตามวัตถุประสงค์ เป้าหมายในปีต่อๆ ไป ต้องลด LBW อย่างน้อย ร้อยละ 5 ( ของอัตรา LBW ในปีก่อนหน้า ) ศึกษาปัจจัยความสำเร็จ/ความล้มเหลว ใช้ข้อกำหนดหรือวิธีปฏิบัติเพื่อก้าวสู่ความสำเร็จ การแก้ไขปัญหาอย่างยั่งยืน

สิ่งที่ต้องดำเนินการต่อไป การพัฒนาเชิงระบบการดูแลแม่และเด็กตั้งแต่ ANC คลอด หลังคลอดและในชุมชน ปรับปรุงระบบการดูแลกรณี Preterm และกรณีอื่นๆที่อาจส่งผลกระทบ ปรับปรุง การประเมินหญิงครรภ์เสี่ยง

โครงการที่ดำเนินต่อไป โครงการเตรียมสู้ สู่ความเป็นแม่ เน้นความเข้มข้นของการมีส่วนร่วมของครอบครัว - เตรียมหญิงตั้งครรภ์และครอบครัวให้พร้อมคลอด อย่างมีคุณภาพ / พร้อมต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ - ส่งเสริมความรัก ความสัมพันธ์ในครอบครัว โครงการเสริมสร้างทักษะชีวิตในโรงเรียน - สร้างทักษะชีวิตเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ของสตรีวัยรุ่น - เสริมสร้างทักษะการปฏิเสธการมีเพศสัมพันธ์ - สร้างเครือข่ายป้องกันปัญหาเรื่องเพศ / STD ในโรงเรียน

ขอขอบคุณ พญ.ธีรารัตน์ พลราชม หัวหน้าทีม พญ.ธีรารัตน์ พลราชม หัวหน้าทีม คุณปิญากรณ์ คำผอง หัวหน้าพยาบาล คุณวิไลแก้ว มุงธิสาร หัวหน้าห้องคลอด คุณนงนุช เอี้ยงลักขะ หัวหน้ากลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัว คุณกรวรรณ บุระเนตร จนท.คอมพิวเตอร์ คุณอรอนงค์ คำประสงค์ ผู้ช่วยเหลือคนไข้ คุณแสงฟ้า เหลืองชาลี ผู้ช่วยเหลือคนไข้ จนท.ผู้รับผิดชอบงานอนามัยแม่และเด็กทุกสถานีอนามัย

สวัสดี