แนวทางการบริหารกองทุน ที่จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ ปีงบประมาณ 2552 แนวทางการบริหารกองทุน ที่จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ ปีงบประมาณ 2552
หน้า ๑๔
แนวคิดการบริหารกองทุน สร้างแรงจูงใจให้หน่วยบริการจัดบริการที่มีคุณภาพและมาตรฐานตามที่กำหนด อย่างต่อเนื่อง ด้วยกลไกทางการเงินตามผลงานคุณภาพ ( Quality outcome performance payment ) สนับสนุนการพัฒนาระบบบริการให้มีคุณภาพ
เป้าหมาย คือ หน่วยบริการทุกแห่ง หน่วยบริการประจำ/ปฐมภูมิ หน่วยบริการรับส่งต่อ
สรุปการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ เพิ่มการสนับสนุนการพัฒนาระบบบริการให้มีคุณภาพ โดยใช้งบวงเงิน 1 บาท ต่อ ปชก. ในไตรมาส 1 ใช้หลักการประเมินตนเอง (self assessment) ภายในหน่วยบริการ ในเรื่อง - ความสมบูรณ์ของการบันทึกเวชระเบียน - การดูแลผู้ป่วยเบาหวานตามแนวทางเวชปฏิบัติ ในรพ. - การดูแลผู้ป่วยเบาหวานในหน่วยบริการปฐมภูมิ - ความปลอดภัยผู้ป่วยด้านการใช้ยา โดยร่วมมือ กับ พรพ. เพื่อบูรณาการพัฒนาคุณภาพในหน่วยบริการ สู่เข็มมุ่งผลลัพธ์ร่วมกัน
สรุปส่วนที่ดำเนินการต่อเนื่อง ใช้เกณฑ์คุณภาพที่ต่อเนื่องจากปี 51 ตามเป้าหมายคุณภาพ คือ - ผลลัพธ์คุณภาพของโรค DM , HT , Asthma - คุณภาพมาตรฐานหน่วยบริการ - ความปลอดภัยผู้ป่วยด้านการใช้ยา ใช้แหล่งข้อมูลจาก individual record ที่ สปสช.ได้รับร่วมกับข้อมูลจากการประเมินตนเอง บริหารจัดการภายในเขตพื้นที่ - เพิ่มเติมเกณฑ์ของแต่ละเขตพื้นที่ ไม่เกิน 3 ตัว (ถ้ามี) - กำหนดน้ำหนักความสำคัญของแต่ละเกณฑ์ ภายในเขต
แนวทางจัดสรรงบคุณภาพบริการ ปี 52 งบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ วงเงิน 940.520 ล้านบาท 20 บาท ต่อ ปชก. วงเงินรายเขตพื้นที่ = ปชก.UC x 20 บ. วงเงินหน่วยบริการประจำ/ปฐมภูมิ 10 บาท ต่อ ประชากร วงเงินหน่วยบริการรับส่งต่อ 10 บาท ต่อ ประชากร เกณฑ์ส่วนกลาง 7 ข้อ + เกณฑ์ระดับเขตไม่เกิน 3 ข้อ เกณฑ์ส่วนกลาง 7 ข้อ + เกณฑ์ระดับเขตไม่เกิน 3 ข้อ จ่ายสนับสนุนการพัฒนา ระบบบริการให้มีคุณภาพ (ไตรมาส 1) จ่ายตามผลงาน ตามเกณฑ์คุณภาพ (ไตรมาส 4) จ่ายตามผลงาน ตามเกณฑ์คุณภาพ (ไตรมาส 4) คิดผลงาน 12 เดือน (เมย.51- มีค.52)
จ่ายสนับสนุนการพัฒนาระบบบริการ ให้มีคุณภาพ (ไตรมาส1) จ่ายสนับสนุนการพัฒนาระบบบริการ ให้มีคุณภาพ (ไตรมาส1) วงเงิน 1 บาท ต่อปชก. กิจกรรม ผู้รับการสนับสนุน 1. สนับสนุนรพ.ให้ดำเนินการในกระบวนการพัฒนาคุณภาพ และป้องกันความเสี่ยง ตาม Common Indicator ร่วมกันของ สปสช. และ พรพ. รพ.ทุกแห่ง 22.866 ล้าน 2. กระตุ้น สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพ - ประเมินระดับคะแนนการพัฒนาคุณภาพ รพ. ทุกแห่ง - ประเมินรับรอง HA รพ.ที่พร้อม จำนวน 25 แห่ง รพ. ผ่านพรพ. 20.325 ล้าน 3. สนับสนุนQRTจังหวัด กำกับคุณภาพบริการ และติดตามความปลอดภัยผู้ป่วยด้านการใช้ยา สสจ.ทุกแห่ง 3.374 ล้าน เกณฑ์การจัดสรร ตามกิจกรรม จำนวนเตียง และจำนวนหน่วยบริการ
Common Indicator ร่วมของ สปสช. และ พรพ. ที่ส่งเสริมให้ทุกโรงพยาบาลมี 1. Indicator ด้าน Process ตามมาตรฐาน HA 1.1 การทบทวนเวชระเบียนภายในหน่วยบริการ - ทบทวนความสมบูรณ์ของการบันทึกเวชระเบียน - ทบทวนการดูแลรักษาโรคเบาหวานตามแนวทางเวชปฏิบัติ โดยจำนวนเวชระเบียน แบบฟอร์ม และแนวทางการทบทวนใช้ตาม แนวทางเดียวกันและบันทึกผลในโปรแกรมที่จัดเตรียมให้ 1.2 การจัดการด้านความปลอดภัยในการใช้ยา - มีระบบบริหารจัดการพิเศษสำหรับยากลุ่ม high alert drug - การกำกับ ประเมินและตรวจสอบการใช้ยาบัญชี ง และ จ2 (DUE,DUR) - การใช้ยา antibiotic ที่เหมาะสม - การมีระบบเฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา (ADR) โดยทีมเภสัชของจังหวัด กำกับติดตาม ตามแบบประเมินตนเองที่กำหนด ข้อ 1 เป็นส่วนหนึ่งของเกณฑ์การจัดสรรงบคุณภาพ
Common Indicator ร่วมของ สปสช.และ พรพ. ที่ส่งเสริมให้ทุกโรงพยาบาลมี - โรคที่เป็น Tracer คือ DM & HT และ โรคอื่น ๆ ตามบริบทของพื้นที่ (หากมี) อัตราการรับเข้าโรงพยาบาลอันเนื่องมาจากภาวะแทรกซ้อนระยะสั้นของโรคเบาหวาน อัตราการกลับมารักษาซ้ำที่แผนกผู้ป่วยใน ด้วยโรคเบาหวานหรือภาวะแทรกซ้อนของเบาหวาน ภายใน 28 วัน อัตราการรับเข้าโรงพยาบาล อันเนื่องมาจากโรคความดันโลหิตสูงหรือภาวะแทรกซ้อนของความดันโลหิตสูง อัตราการกลับมารักษาซ้ำที่แผนกผู้ป่วยใน ด้วยโรคความดันโลหิตสูงหรือภาวะแทรกซ้อนของความดันโลหิตสูง ภายใน 28 วัน ข้อ 2 เป็นส่วนหนึ่งของเกณฑ์การจัดสรรงบคุณภาพ
3. Indicator ด้านการให้บริการประชาชน Common Indicator ร่วมของ สปสช.และ พรพ. ที่ส่งเสริมให้ทุกโรงพยาบาลมี 3. Indicator ด้านการให้บริการประชาชน - อัตราการตอบสนองข้อร้องเรียน - อัตราการยุติเรื่องร้องเรียน - รายงานเรื่องเล่าความประทับใจผู้ให้ บริการจาก ผู้รับบริการ
ครั้งสอง จ่ายตามผลคุณภาพบริการ การจัดสรรงบประมาณให้หน่วยบริการ ตามจำนวนประชากรที่ลงทะเบียน โดยอัตราบาทต่อประชากร แตกต่างกันตามผลคะแนนคุณภาพ ตัวอย่างการจัดสรร เขต A คะแนนที่ได้ คะแนนเฉลี่ย ระดับเขต อัตรา บาท : ปชก ประชากรUC งบที่จะได้รับ รพ. ก 350 10 150,000 1,500,000 รพ. ข 320 9 100,000 900,000 รพ. ค 410 12 1,200,000 ทั้งนี้ต้องปรับงบประมาณตามส่วนได้ไม่เกินวงเงินของเขต
เกณฑ์คุณภาพ หน่วยบริการปฐมภูมิ 1. อัตราการจัดหน่วยบริการปฐมภูมิ ตามเกณฑ์ *** 2. อัตราความครอบคลุมการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อสุขภาพ 3. อัตราความครอบคลุมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 4. อัตราการรับเข้าโรงพยาบาลอันเนื่องมาจากโรคหืดในผู้ใหญ่ 5. อัตราการรับเข้าโรงพยาบาลอันเนื่องมาจากภาวะแทรกซ้อนระยะสั้นของโรคเบาหวาน 6. อัตราการรับเข้าโรงพยาบาลอันเนื่องมาจากโรคความดันโลหิตสูง หรือภาวะแทรกซ้อนของโรคความดันโลหิตสูง 7. อัตราการดูแลผู้ป่วยเบาหวานตามแนวทางเวชปฏิบัติ ในบริการปฐมภูมิ *** การจัดการของเขตพื้นที่ - เพิ่มเติมเกณฑ์ของแต่ละเขตพื้นที่ ไม่เกิน 3 ตัว (ถ้ามี) - กำหนดน้ำหนักความสำคัญของแต่ละเกณฑ์ ภายในเขตพื้นที่ ให้น้ำหนักรวมไม่เกิน 100
เกณฑ์คุณภาพ หน่วยบริการรับส่งต่อ เกณฑ์คุณภาพ หน่วยบริการรับส่งต่อ 1. ผลการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล 2. อัตราความสมบูรณ์ของการบันทึกเวชระเบียน 3. คุณภาพการใช้ยา *** 4. การรายงาน Quality Surveillance Indicators 5. อัตราการกลับมารักษาซ้ำในแผนกผู้ป่วยในด้วยโรคเบาหวาน หรือภาวะแทรกซ้อนของเบาหวานภายใน 28 วัน 6. อัตราการกลับมารักษาซ้ำในแผนกผู้ป่วยในด้วยโรคความดันโลหิตสูง หรือภาวะแทรกซ้อนของความดันโลหิตสูง ภายใน 28 วัน 7. อัตราการดูแลผู้ป่วยเบาหวานตามแนวทางเวชปฏิบัติ การจัดการของเขตพื้นที่ - เพิ่มเติมเกณฑ์ของแต่ละเขตพื้นที่ ไม่เกิน 3 ตัว (ถ้ามี) - กำหนดน้ำหนักความสำคัญของแต่ละเกณฑ์ ภายในเขตพื้นที่ ให้น้ำหนักรวมไม่เกิน 100
กิจกรรมและระยะเวลาดำเนินการ ประเมินภายในหน่วยบริการ ชี้แจงหน่วยบริการร่วมพรพ. ประมวลผลตามเกณฑ์ที่กำหนด * จัดสรรครั้งที่ 1 จัดสรรครั้งที่ 2 * คิดผลงาน 12 เดือน (1เมย.08- 31มีค.09)
การให้คะแนน แบ่งเป็นระดับ 0 – 5 คะแนนที่ได้แต่ละข้อ แบ่งเป็นระดับ 0 – 5 อิงเกณฑ์ => ค่าที่กำหนดขึ้น อิงกลุ่ม => mean ± standard deviation ภายในเขต คะแนนที่ได้แต่ละข้อ = คะแนนการจากการประเมิน (0 - 5) x ค่าน้ำหนัก ค่าน้ำหนักรวม 100 >> คะแนนเต็ม 500
แหล่งข้อมูล กลุ่มที่ 1 จากฐานข้อมูลการให้บริการ individual record (7 ตัว) กลุ่มที่ 2 ผลการทบทวน/ประเมินตนเองของหน่วยบริการ (4 ตัว) กลุ่มที่ 3 รายงานกิจกรรมที่หน่วยบริการจัดเก็บและรายงาน (1 ตัว) กลุ่มที่ 4 ผลการตรวจประเมินขึ้นทะเบียน และระดับคะแนน คุณภาพ (2 ตัว)
หน่วยประจำ/ปฐมภูมิ ตัวชี้วัด แหล่งข้อมูล 1. อัตราการจัดบริการหน่วยบริการปฐมภูมิ ตามเกณฑ์ - ผลการตรวจขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ 2. อัตราความครอบคลุมการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อสุขภาพ โปรแกรมคัดกรองความเสี่ยง สปสช 3. อัตราความครอบคลุมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก โปรแกรม Pap registry 4. อัตราการรับเข้าโรงพยาบาลอันเนื่องมาจากโรคหอบหืดในผู้ใหญ่ ฐานข้อมูลการเบิกจ่าย โปรแกรม NHSO
หน่วยประจำ/ปฐมภูมิ ตัวชี้วัด แหล่งข้อมูล 5. อัตราการรับเข้าโรงพยาบาลอันเนื่องมาจากภาวะแทรกซ้อนระยะสั้นของโรคเบาหวาน ฐานข้อมูลการเบิกจ่าย โปรแกรม NHSO 6. อัตราการรับเข้าโรงพยาบาลอันเนื่องมาจากโรคความดันโลหิตสูง หรือภาวะแทรกซ้อนของโรคความดันโลหิตสูง 7. อัตราการดูแลผู้ป่วยเบาหวานตามแนวทางเวชปฏิบัติ ในบริการปฐมภูมิ -ผลการทบทวน โดยหน่วยบริการประจำ
หน่วยบริการรับส่งต่อ ตัวชี้วัด แหล่งข้อมูล 1. ผลการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล -ผลการประเมินคุณภาพ HA (พรพ.) -ผลการพัฒนา HNQA ( กรม สบส.) 2. อัตราความสมบูรณ์ของการบันทึกเวชระเบียน ผลการทบทวนความสมบูรณ์ของการ บันทึกเวชระเบียน ภายใน รพ. 3. คุณภาพการใช้ยา ผลการทบทวนของโรงพยาบาล และ กำกับติดตาม โดย ทีมเภสัชของจังหวัด 4. รายงาน Quality Surveillance Indicators โรงพยาบาลส่งข้อมูล ให้ สปสช.สาขาเขตพื้นที่ เป็น electronic file
หน่วยบริการรับส่งต่อ ตัวชี้วัด แหล่งข้อมูล 5. อัตราการกลับมารักษาซ้ำในแผนกผู้ป่วยในด้วยโรคเบาหวาน ภายใน 28 วัน ฐานข้อมูลการเบิกจ่าย สำนักบริหารชดเชยค่าบริการ 6. อัตราการกลับมารักษาซ้ำในแผนกผู้ป่วยในด้วยโรคความดันโลหิตสูงภายใน28วัน 7 อัตราการดูแลผู้ป่วยเบาหวานตามแนวทางเวชปฏิบัติ ผลการทบทวนการดูแลผู้ป่วยเบาหวานจากเวชระเบียน ในโรงพยาบาล
การให้คะแนนรายเกณฑ์ ของ หน่วยบริการประจำ/ปฐมภูมิ การให้คะแนนรายเกณฑ์ ของ หน่วยบริการประจำ/ปฐมภูมิ
ประเมินจากการจัดให้มีพยาบาลวิชาชีพปฏิบัติงานประจำที่หน่วยปฐมภูมิ เกณฑ์ 1 การจัดหน่วยบริการปฐมภูมิ ตามเกณฑ์ ประเมินจากการจัดให้มีพยาบาลวิชาชีพปฏิบัติงานประจำที่หน่วยปฐมภูมิ พยาบาลวิชาชีพ ต่อ ประชากร คะแนน 1 : < 5,000 4 1 : 5,000 - 10,000 3 1 : > 10,000 2 ไม่มีพยาบาลวิชาชีพปฏิบัติงานประจำ หากเป็น พยาบาลเวชปฏิบัติ บวกเพิ่มอีก 1 คะแนน แหล่งข้อมูล : ผลการตรวจประเมินหน่วยบริการปฐมภูมิตามเกณฑ์ขึ้นทะเบียน และข้อมูลจากพื้นที่
อัตราความครอบคลุมการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อสุขภาพ เกณฑ์ 2 อัตราความครอบคลุมการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อสุขภาพ จำนวนประชากรUC อายุ 35ปี ขึ้นไป ที่ได้รับการตรวจคัดกรอง ภาวะเสี่ยงต่อสุขภาพอย่างน้อย 1 ครั้งในช่วงเวลาที่กำหนด X 100 จำนวนประชากรUCทั้งหมดในความดูแลของหน่วยบริการที่มี อายุ 35 ปี ขึ้นไป = แก้แหล่งข้อมูลเป็น โปรแกรมการคัดกรองความเสี่ยง ในโปรแกรมจะกำหนดที่อายุ 15 ปีขึ้นไป แต่ข้อมูลที่นำมาใช้สำหรับเกณฑ์นี้ จะใช้เฉพาะอายุ 35 ขึ้นไป เพื่อให้ตรงกับ tracer ที่กำหนด ความหมายของปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ คือตามแบบคัดกรองที่กำหนด (ไม่ใช้เรื่องใดเรื่องหนึ่ง) ตามโปรแกรมถ้า ป้อนข้อมูลไม่ครบจะเด้งออกอยู่แล้ว ข้อสังเกต ปัญหาข้อติดขัดในการป้อนข้อมูลในโปรแกรม ที่ต้องสนับสนุนให้สามารถป้อนข้อมูลได้สะดวก ปัจจุบันเป็นแบบ online ทำให้ป้อนข้อมูลไม่ได้(บังเกิญป้อนพร้อมกันหลาย ๆ แห่ง) มีการจ่ายเงินสำหรับการป้อนข้อมูลด้วย จะทำให้ได้เงินซ้ำซ้อนหรือไม่ สรุป หลักการคือหาความครอบคลุมของการตรวจคัดกรอง แต่อาจต้องหาแหล่งข้อมูลอื่น แหล่งข้อมูล ฐานข้อมูลการคัดกรองความเสี่ยงสุขภาพ สปสช. นับจำนวนตามหน่วยบริการต้นสังกัด ผลงาน 12 เดือน ( เมย. 2551 - มีค. 2552 )
อัตราความครอบคลุมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก เกณฑ์ 3 อัตราความครอบคลุมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จำนวนประชากรUCเพศหญิงอายุ 35 - 60 ปีที่ได้รับการตรวจ คัดกรองมะเร็งปากมดลูก X 100 จำนวนประชากรUCเพศหญิงอายุ 35-60 ปี = คิดจากอายุเท่าไร ตามกรมกำหนด ทุก 5 ปี ในโปรแกรมจะล๊อดไว้ที่อายุลงท้ายด้วย 5 จะทำให้ไม่ครอบคลุมคนที่อายุมากกว่า 35 ที่มาตรวจครั้งแรก ต้องไปปรับเกณฑ์ให้เป็นไปได้กับตัวเลขจริงของฐานประชากร ต้องสอดคล้องกัน ปรับสูตรตัวตั้ง ตัวหารต้องสอดคล้องกัน นิยาม ให้สอดคล้อง แหล่งข้อมูล : ฐานข้อมูลการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก สถาบันมะเร็งแห่งชาติ นับจำนวนตามหน่วยบริการต้นสังกัด ผลงาน 12 เดือน ( เมย. 2551 - มีค. 2552 )
อัตราการรับเข้าโรงพยาบาลอันเนื่องมาจากโรคหอบหืดในผู้ใหญ่ เกณฑ์ 4 อัตราการรับเข้าโรงพยาบาลอันเนื่องมาจากโรคหอบหืดในผู้ใหญ่ จำนวนครั้งผู้ป่วยอายุ 15 ปีขึ้นไปที่รับเข้าโรงพยาบาลเนื่อง จากโรคหอบหืด X 100,000 จำนวนประชากรUCทั้งหมดในความดูแลของหน่วยบริการที่มีอายุ 15 ปี ขึ้นไป = แก้แหล่งข้อมูลเป็น โปรแกรมการคัดกรองความเสี่ยง ในโปรแกรมจะกำหนดที่อายุ 15 ปีขึ้นไป แต่ข้อมูลที่นำมาใช้สำหรับเกณฑ์นี้ จะใช้เฉพาะอายุ 35 ขึ้นไป เพื่อให้ตรงกับ tracer ที่กำหนด ความหมายของปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ คือตามแบบคัดกรองที่กำหนด (ไม่ใช้เรื่องใดเรื่องหนึ่ง) ตามโปรแกรมถ้า ป้อนข้อมูลไม่ครบจะเด้งออกอยู่แล้ว ข้อสังเกต ปัญหาข้อติดขัดในการป้อนข้อมูลในโปรแกรม ที่ต้องสนับสนุนให้สามารถป้อนข้อมูลได้สะดวก ปัจจุบันเป็นแบบ online ทำให้ป้อนข้อมูลไม่ได้(บังเกิญป้อนพร้อมกันหลาย ๆ แห่ง) มีการจ่ายเงินสำหรับการป้อนข้อมูลด้วย จะทำให้ได้เงินซ้ำซ้อนหรือไม่ สรุป หลักการคือหาความครอบคลุมของการตรวจคัดกรอง แต่อาจต้องหาแหล่งข้อมูลอื่น แหล่งข้อมูล ฐานข้อมูลการเบิกชดเชยค่าบริการผู้ป่วยใน นับจำนวนตามหน่วยบริการต้นสังกัด ผลงาน 12 เดือน ( เมย. 2551 - มีค. 2552 )
จำนวนประชากรUCทั้งหมดในความดูแลของหน่วยบริการ เกณฑ์ 5 อัตราการรับเข้าโรงพยาบาลอันเนื่องมาจากภาวะแทรกซ้อนระยะสั้นของโรคเบาหวาน จำนวนครั้งผู้ป่วยอายุ 15 ปีขึ้นไป ที่รับเข้าโรงพยาบาลอันเนื่อง มาจากภาวะแทรกซ้อนระยะสั้นของโรคเบาหวาน X 100,000 จำนวนประชากรUCทั้งหมดในความดูแลของหน่วยบริการ ที่มีอายุ 15 ปี ขึ้นไป = แก้แหล่งข้อมูลเป็น โปรแกรมการคัดกรองความเสี่ยง ในโปรแกรมจะกำหนดที่อายุ 15 ปีขึ้นไป แต่ข้อมูลที่นำมาใช้สำหรับเกณฑ์นี้ จะใช้เฉพาะอายุ 35 ขึ้นไป เพื่อให้ตรงกับ tracer ที่กำหนด ความหมายของปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ คือตามแบบคัดกรองที่กำหนด (ไม่ใช้เรื่องใดเรื่องหนึ่ง) ตามโปรแกรมถ้า ป้อนข้อมูลไม่ครบจะเด้งออกอยู่แล้ว ข้อสังเกต ปัญหาข้อติดขัดในการป้อนข้อมูลในโปรแกรม ที่ต้องสนับสนุนให้สามารถป้อนข้อมูลได้สะดวก ปัจจุบันเป็นแบบ online ทำให้ป้อนข้อมูลไม่ได้(บังเกิญป้อนพร้อมกันหลาย ๆ แห่ง) มีการจ่ายเงินสำหรับการป้อนข้อมูลด้วย จะทำให้ได้เงินซ้ำซ้อนหรือไม่ สรุป หลักการคือหาความครอบคลุมของการตรวจคัดกรอง แต่อาจต้องหาแหล่งข้อมูลอื่น แหล่งข้อมูล ฐานข้อมูลการเบิกชดเชยค่าบริการผู้ป่วยใน นับจำนวนตามหน่วยบริการต้นสังกัด ผลงาน 12 เดือน ( เมย. 2551 - มีค. 2552 )
เกณฑ์ 6 อัตราการรับเข้าโรงพยาบาลอันเนื่องมาจากโรคความดันโลหิตสูงหรือภาวะแทรกซ้อนของความดันโลหิตสูง จำนวนครั้งผู้ป่วยอายุ 15 ปีขึ้นไป ที่รับเข้าโรงพยาบาลอันเนื่องมาจาก โรคความดันโลหิตสูงหรือภาวะแทรกซ้อนของความดันโลหิตสูง X 100,000 จำนวนประชากรUCทั้งหมดในความดูแลของหน่วยบริการที่มี อายุ 15 ปี ขึ้นไป = แก้แหล่งข้อมูลเป็น โปรแกรมการคัดกรองความเสี่ยง ในโปรแกรมจะกำหนดที่อายุ 15 ปีขึ้นไป แต่ข้อมูลที่นำมาใช้สำหรับเกณฑ์นี้ จะใช้เฉพาะอายุ 35 ขึ้นไป เพื่อให้ตรงกับ tracer ที่กำหนด ความหมายของปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ คือตามแบบคัดกรองที่กำหนด (ไม่ใช้เรื่องใดเรื่องหนึ่ง) ตามโปรแกรมถ้า ป้อนข้อมูลไม่ครบจะเด้งออกอยู่แล้ว ข้อสังเกต ปัญหาข้อติดขัดในการป้อนข้อมูลในโปรแกรม ที่ต้องสนับสนุนให้สามารถป้อนข้อมูลได้สะดวก ปัจจุบันเป็นแบบ online ทำให้ป้อนข้อมูลไม่ได้(บังเกิญป้อนพร้อมกันหลาย ๆ แห่ง) มีการจ่ายเงินสำหรับการป้อนข้อมูลด้วย จะทำให้ได้เงินซ้ำซ้อนหรือไม่ สรุป หลักการคือหาความครอบคลุมของการตรวจคัดกรอง แต่อาจต้องหาแหล่งข้อมูลอื่น แหล่งข้อมูล ฐานข้อมูลการเบิกชดเชยค่าบริการผู้ป่วยใน นับจำนวนตามหน่วยบริการต้นสังกัด ผลงาน 12 เดือน ( เมย. 2551 - มีค. 2552 )
อัตราการดูแลผู้ป่วยเบาหวานตามแนวทางเวชปฏิบัติ เกณฑ์ 7 อัตราการดูแลผู้ป่วยเบาหวานตามแนวทางเวชปฏิบัติ แหล่งข้อมูล จากผลการทบทวนเวชระเบียน ภายในโรงพยาบาล เพื่อประเมินคุณภาพการดูแลผู้ป่วยตามแนวทางเวชปฏิบัติ สำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ.2551 แนวทางและจำนวนเวชระเบียนตามที่สปสช.กำหนด ข้อสังเกต HbA1c มีค่าใช้จ่ายสูง อาจทำให้ทำได้น้อย : เป็นตัววัดตาม GL ซึ่งจากการสำรวจพบว่า รพ.ส่วนใหญ่ส่ง lipid profile ซึ่งมีราคาแพงกว่า สำหรับงบสนับสนุนเพิ่มเติมรวมอยู่ในค่าใช้จ่ายรายหัวแล้ว ต้องกำหนดจำนวนครั้งของการตรวจที่ควรมีด้วย มิฉะนั้นข้อมูลที่ได้จะเกิดความเบี่ยงเบน เช่น ตรวจน้อยลง ต้องการชี้นำให้เกิดการบริการที่ปฐมภูมิเพิ่มขึ้น ควรมีการตรวจร่างกายที่ปฐมภูมิ ข้อ 1-5 ด้วย ควรแยกการประเมินให้ตรงแหล่ง เช่น ถ้าประเมินปฐมภูมิควรเป็นข้อมูลจากปฐมภูมิ
การให้คะแนนรายเกณฑ์ ของ หน่วยบริการรับส่งต่อ การให้คะแนนรายเกณฑ์ ของ หน่วยบริการรับส่งต่อ
ผลการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล เกณฑ์ 1 ผลการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล ผลการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล คะแนน - ผ่านการรับรอง HA / TQC และยังไม่หมดอายุการรับรอง 5 ผ่านการรับรอง HA แต่หมดอายุการรับรอง ผ่านขั้น 2 HA และยังไม่หมดอายุการรับรอง ระดับคะแนนประเมินจาก พรพ. มากกว่า mean + 1 S.D. 4 - ผ่านขั้น 2 HA/ผ่าน HPH ที่รับรองโดย พรพ. แต่หมดอายุการรับรอง ระดับคะแนนประเมินจาก พรพ. มากกว่า mean ∓ 1 S.D - พัฒนาตามกระบวนการพัฒนาคุณภาพแบบเครือข่าย ( HNQA ) 10 หน่วยงาน 3 - ผ่านขั้น 1 และยังไม่หมดอายุการรับรอง ระดับคะแนนประเมินจาก พรพ. ระหว่าง mean - 2 S.D ถึง mean - 1 S.D - พัฒนาตามกระบวนการพัฒนาคุณภาพแบบเครือข่าย ( HNQA ) 4 หน่วยงาน 2 - ผ่านขั้น 1 HA แต่หมดอายุการรับรอง - ระดับคะแนนประเมินจาก พรพ. น้อยกว่า mean – 2 S.D 1 - ไม่มีผู้รับผิดชอบ/ศูนย์คุณภาพที่ชัดเจนหรือไม่สนใจกระบวนการพัฒนาคุณภาพ ข้อสังเกต พรพ. ไม่พร้อมมาประเมินเอง : ต้องหาข้อเท็จจริงด้วย ว่าพรพ.ไม่ไป หรือรพ.ไม่พร้อม ผ่านของสำนักการพยาบาลได้ 3 คะแนน และคะแนนอื่น ตามที่สำนักการพยาบาลเสนอ เสนอควรพิจารณา ISO ผ่านได้รับการรับรอง ให้ 3 คะแนน (เพราะ ISO 9001 V 2000 มีครอบคลุมการบริการ ขอดู QP การควบคุมความเสี่ยงในการดูแลผู้ป่วย) กรณีช่วงรอยต่อระหว่างรอ พรพ.มาประเมินใหม่ มีเวลาให้ 6 เดือน HNQA จะพัฒนาในเชิง output มากกว่า process ในอนาคต HPH โดยกรมอนามัย เสนอให้ 2 คะแนน (คนละตัวกับ HPH ที่รับรอง พรพ.) ปัจจุบันแทบไม่มีแล้ว 3 คะแนน แก้ มากกว่า mean ….. เป็น ระหว่าง mean ……. หมดอายุการรับรอง พิจารณา ณ เดือนมีนาคม 2552
อัตราความสมบูรณ์ของบันทึกเวชระเบียน เกณฑ์ 2 อัตราความสมบูรณ์ของบันทึกเวชระเบียน แหล่งข้อมูล ผลการทบทวนคุณภาพและความสมบูรณ์ ของเวชระเบียนผู้ป่วยของโรงพยาบาล แนวทางและจำนวนเวชระเบียนตามที่สปสช.กำหนด
เกณฑ์ 3 เกณฑ์คุณภาพการใช้ยา เกณฑ์ 3 เกณฑ์คุณภาพการใช้ยา 1. ผลการทบทวนและประเมินตนเองของโรงพยาบาล ในเรื่อง 1. ระบบบริหารจัดการพิเศษสำหรับยากลุ่ม high alert drug 2. DUE,DUR ยาบัญชี ง และ จ 2 3. การใช้ยา antibiotic ที่เหมาะสม 4. ระบบเฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา (ADR) 2. ผลการรายงานอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา (ADR) เทียบกับค่าเฉลี่ยของหน่วยบริการระดับเดียวกัน จากฐานข้อมูล อย.
ผลการส่งรายงาน Quality Surveillance Indicator เกณฑ์ 4 ผลการส่งรายงาน Quality Surveillance Indicator ความครบถ้วน ทันเวลา และคุณภาพข้อมูล ของการส่งรายงาน QSI 8 ตัว แหล่งข้อมูล : ผลการรายงานจากหน่วยบริการ ให้สาขาเขตพื้นที่ ระยะเวลารายงาน : ครั้งที่ 1 (เมย. 51 - กย.51), ครั้งที่ 2 (ต.ค.51 - มีค.52)
เกณฑ์ 5 อัตราการกลับมารักษาซ้ำในแผนกผู้ป่วยในด้วยโรคเบาหวาน หรือภาวะแทรกซ้อนของเบาหวานภายใน 28 วัน จำนวนครั้งของผู้ป่วยโรคเบาหวานหรือภาวะแทรกซ้อนของ เบาหวานที่กลับมารักษาซ้ำที่แผนกผู้ป่วยในภายใน 28 วัน x 1000 จำนวนครั้งของผู้ป่วยโรคเบาหวานหรือภาวะแทรกซ้อนของ เบาหวานที่จำหน่าย = แก้แหล่งข้อมูลเป็น โปรแกรมการคัดกรองความเสี่ยง ในโปรแกรมจะกำหนดที่อายุ 15 ปีขึ้นไป แต่ข้อมูลที่นำมาใช้สำหรับเกณฑ์นี้ จะใช้เฉพาะอายุ 35 ขึ้นไป เพื่อให้ตรงกับ tracer ที่กำหนด ความหมายของปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ คือตามแบบคัดกรองที่กำหนด (ไม่ใช้เรื่องใดเรื่องหนึ่ง) ตามโปรแกรมถ้า ป้อนข้อมูลไม่ครบจะเด้งออกอยู่แล้ว ข้อสังเกต ปัญหาข้อติดขัดในการป้อนข้อมูลในโปรแกรม ที่ต้องสนับสนุนให้สามารถป้อนข้อมูลได้สะดวก ปัจจุบันเป็นแบบ online ทำให้ป้อนข้อมูลไม่ได้(บังเกิญป้อนพร้อมกันหลาย ๆ แห่ง) มีการจ่ายเงินสำหรับการป้อนข้อมูลด้วย จะทำให้ได้เงินซ้ำซ้อนหรือไม่ สรุป หลักการคือหาความครอบคลุมของการตรวจคัดกรอง แต่อาจต้องหาแหล่งข้อมูลอื่น แหล่งข้อมูล ฐานข้อมูลการเบิกชดเชยค่าบริการผู้ป่วยใน นับตามจำนวนหน่วยบริการที่ให้การรักษา ผลงาน 12 เดือน ( เมย. 2551 - มีค. 2552 )
เกณฑ์ 6 อัตรากลับมารักษาซ้ำในโรงพยาบาลด้วยโรคความดันโลหิตสูงหรือภาวะแทรกซ้อนของความดันโลหิตสูง ภายใน28วัน จำนวนครั้งของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงหรือภาวะแทรกซ้อนของ ความโลหิตสูงที่กลับมารักษาซ้ำที่แผนกผู้ป่วยใน ภายใน 28 วัน X 1,000 จำนวนครั้งของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงหรือภาวะแทรกซ้อนของ ความดันโลหิตสูงที่จำหน่าย = แก้แหล่งข้อมูลเป็น โปรแกรมการคัดกรองความเสี่ยง ในโปรแกรมจะกำหนดที่อายุ 15 ปีขึ้นไป แต่ข้อมูลที่นำมาใช้สำหรับเกณฑ์นี้ จะใช้เฉพาะอายุ 35 ขึ้นไป เพื่อให้ตรงกับ tracer ที่กำหนด ความหมายของปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ คือตามแบบคัดกรองที่กำหนด (ไม่ใช้เรื่องใดเรื่องหนึ่ง) ตามโปรแกรมถ้า ป้อนข้อมูลไม่ครบจะเด้งออกอยู่แล้ว ข้อสังเกต ปัญหาข้อติดขัดในการป้อนข้อมูลในโปรแกรม ที่ต้องสนับสนุนให้สามารถป้อนข้อมูลได้สะดวก ปัจจุบันเป็นแบบ online ทำให้ป้อนข้อมูลไม่ได้(บังเกิญป้อนพร้อมกันหลาย ๆ แห่ง) มีการจ่ายเงินสำหรับการป้อนข้อมูลด้วย จะทำให้ได้เงินซ้ำซ้อนหรือไม่ สรุป หลักการคือหาความครอบคลุมของการตรวจคัดกรอง แต่อาจต้องหาแหล่งข้อมูลอื่น แหล่งข้อมูล ฐานข้อมูลการเบิกชดเชยค่าบริการผู้ป่วยใน นับตามจำนวนหน่วยบริการที่ให้การรักษา ผลงาน 12 เดือน ( เมย. 2551 - มีค. 2552 )
อัตราการดูแลผู้ป่วยเบาหวานตามแนวทางเวชปฏิบัติ เกณฑ์ 7 อัตราการดูแลผู้ป่วยเบาหวานตามแนวทางเวชปฏิบัติ แหล่งข้อมูล จากผลการทบทวนเวชระเบียน ภายในโรงพยาบาล เพื่อประเมินคุณภาพการดูแลผู้ป่วยตามแนวทางเวชปฏิบัติ สำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ.2551 แนวทางและจำนวนเวชระเบียนตามที่สปสช.กำหนด ข้อสังเกต HbA1c มีค่าใช้จ่ายสูง อาจทำให้ทำได้น้อย : เป็นตัววัดตาม GL ซึ่งจากการสำรวจพบว่า รพ.ส่วนใหญ่ส่ง lipid profile ซึ่งมีราคาแพงกว่า สำหรับงบสนับสนุนเพิ่มเติมรวมอยู่ในค่าใช้จ่ายรายหัวแล้ว ต้องกำหนดจำนวนครั้งของการตรวจที่ควรมีด้วย มิฉะนั้นข้อมูลที่ได้จะเกิดความเบี่ยงเบน เช่น ตรวจน้อยลง ต้องการชี้นำให้เกิดการบริการที่ปฐมภูมิเพิ่มขึ้น ควรมีการตรวจร่างกายที่ปฐมภูมิ ข้อ 1-5 ด้วย ควรแยกการประเมินให้ตรงแหล่ง เช่น ถ้าประเมินปฐมภูมิควรเป็นข้อมูลจากปฐมภูมิ
ขอบคุณ ต้องมีการประเมินว่าหลังจากที่ใช้เกณฑ์แล้ว ผลลัพธ์เป็นอย่างไร ต้องมีการปรับเกณฑ์ ที่ต้องสมดุลทั้งการเข้าถึง และมีคุณภาพ การวัดบางตัวในปีแรก ๆ อาจเป็นการชี้นำ โดยวัด process ก่อน ยังหวัง ผลลัพธ์ไม่ได้ ต้องใช้เวลา แต่ในเบื้องต้นต้องดีขึ้นแน่นอนอย่างน้อยในเชิงปริมาณ เสนอให้เป็นประเด็นพิจารณาในครั้งต่อไป เดือน พย.