ภาควิชาพัฒนาการเกษตร นางสาวพัชรี อินทสโร รหัสนักศึกษา 5510610291 คณะทรัพยากรธรรมชาติ ภาควิชาพัฒนาการเกษตร
กรอบแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์การพัฒนายางพาราครบวงจร (2542-2546) ด้านตลาดยาง 1. จัดตั้งตลาดกลางยางพารา และรักษาเสถียรภาพราคายาง - แทรกแทรงราคายาง ผู้รับผิดชอบ - กรมวิชาการเกษตร, องค์การยาง,สถาบันเกษตรกร,สมาคมยางพาราไทย,กรมส่งเสริม(เกษตร), สหกรณ์,กระทรวงการต่างประเทศ 2. พัฒนาตลาดส่งออก ผู้รับผิดชอบ - กรมการค้าต่างประเทศ,กรมส่งเสริมการส่งออก,สมาคมยางพาราไทย, สมาคมน้ำยางข้นไทย 3. สนับสนุนการพัฒนาการส่งออก ผู้รับผิดชอบ –กรมวิชาการเกษตร, กรมศุลกากร, องค์การยาง,กรมการค้าต่างประเทศ,การท่าเรือแห่งประเทศไทย, สภาผู้ส่งสินค้าทางเรือฯ ด้านการบริหารงานภาคยาง - ตั้งคณะกรรมการยางแห่งประเทศไทย (กระทรวงเกษตรฯ ตั้งคณะกรรมการเพื่อให้การดำเนินงานภาครัฐเป็นไป ตามยุทธศาตร์ครบวงจร) - ตั้งองค์การยาง( กระทรวงเกษตรฯ ตั้งองค์การยางโดยรวม อสย.และ สกย. เพื่อสนับสนุนเกษตรกร ผู้รับผิดชอบ – กระทรวงเกษตรฯ, หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง - สนับสนุนร่วมมือกับ อก. ตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ยาง ผู้รับผิดชอบ – อก. -ตั้งกองทุนพัฒนายาง และผลิตภัณฑ์ยาง ผู้รับผิดชอบ - หน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้อง
กรอบแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์การพัฒนายางพาราครบวงจร (2542-2546) ด้านการบริหารงานภาคยาง - ตั้งคณะกรรมการยางแห่งประเทศไทย (กระทรวงเกษตรฯ ตั้งคณะกรรมการเพื่อให้การดำเนินงานภาครัฐเป็นไป ตามยุทธศาตร์ครบวงจร) - ตั้งองค์การยาง( กระทรวงเกษตรฯ ตั้งองค์การยางโดยรวม อสย.และ สกย. เพื่อสนับสนุนเกษตรกร ผู้รับผิดชอบ – กระทรวงเกษตรฯ, หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง - สนับสนุนร่วมมือกับ อก. ตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ยาง ผู้รับผิดชอบ – อก. -ตั้งกองทุนพัฒนายาง และผลิตภัณฑ์ยาง ผู้รับผิดชอบ - หน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้อง ด้านตลาดยาง 1. จัดตั้งตลาดกลางยางพารา และรักษาเสถียรภาพราคายาง - แทรกแทรงราคายาง ผู้รับผิดชอบ - กรมวิชาการเกษตร, องค์การยาง,สถาบันเกษตรกร,สมาคมยางพาราไทย,กรมส่งเสริม(เกษตร), สหกรณ์,กระทรวงการต่างประเทศ 2. พัฒนาตลาดส่งออก ผู้รับผิดชอบ - กรมการค้าต่างประเทศ,กรมส่งเสริมการส่งออก,สมาคมยางพาราไทย, สมาคมน้ำยางข้นไทย 3. สนับสนุนการพัฒนาการส่งออก ผู้รับผิดชอบ –กรมวิชาการเกษตร, กรมศุลกากร, องค์การยาง,กรมการค้าต่างประเทศ,การท่าเรือแห่งประเทศไทย, สภาผู้ส่งสินค้าทางเรือฯ
วัตถุประสงค์ ปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตยางพารา สนับสนุนการผลิตวัตถุดิบที่มีคุณภาพ และพัฒนาระบบการตลาด สร้างความเข้มแข็งและเพิ่มความสามารถในการแข่งขันให้ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมยาง สนับสนุนการเพิ่มมูลค่ายางธรรมชาติโดยการแปรรูป และนำยางธรรมชาติมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ยางเพิ่มขึ้น
วัตถุประสงค์ ปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตยางพารา สนับสนุนการผลิตวัตถุดิบที่มีคุณภาพ และพัฒนาระบบการตลาด สร้างความเข้มแข็งและเพิ่มความสามารถในการแข่งขันให้ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมยาง สนับสนุนการเพิ่มมูลค่ายางธรรมชาติโดยการแปรรูป และนำยางธรรมชาติมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ยางเพิ่มขึ้น