การออกแบบโปรแกรม ขั้นตอนการแก้ปัญหา การนิยามปัญหา (Problem definition)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเขียนผังงาน (Flowchart)
Advertisements

เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
อัลกอริทึม ITS101 2/2011.
การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 9
แนวคิดในการเขียนโปรแกรม
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
การทำงานแบบเลือกทำ (Selection)
บทที่ ๖ หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
การเขียนผังงาน.
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
กระบวนการเขียนโปรแกรม
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
การจำลองความคิด
Surachai Wachirahatthapong
การออกแบบโปรแกรมอย่างมีโครงสร้าง Structured Design
วิธีการทำงานของผังงาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
การเขียนโปรแกรมแบบมีทางเลือก
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ผังงาน (Flowchart) มหาวิทยาลัยเนชั่น หลักการภาษาชุดคำสั่ง
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
การเขียนผังงาน.
ใบงานที่ 5 สัญลักษณ์ (Flowchart)
การเขียนผังงาน จุดประสงค์ 1.อธิบายความของผังงานได้
Flow Chart INT1103 Computer Programming
การเขียนอัลกอริทึม แบบโฟลวชาร์ต
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
การออกแบบโครงสร้าง (Structured Design)
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
Introduction : Principle of Programming
ใบงาน 1. ให้นักเรียนคัดลอกเนื้อหาและตัวอย่างเรื่อง การวิเคราะห์ปัญหาและการจำลองความคิดตั้งแต่สไลด์ที่ 2-11 ลงในสมุด (ถ้าไม่มีให้ทำในกระดาษสมุด1คู่) 2.
การเขียนผังงาน (Flowchart)
แผนผังความคิดรวบยอด เรื่อง ภาษาคอมพิวเตอร์ และตัวอย่างผังงาน
บทที่ 7 การวิเคราะห์งานและการโปรแกรม แบบมีโครงสร้าง
ปัญหาคืออะไร. การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ไขปัญหา รายวิชา การโปรแกรมและการประยุกต์ (ง30222)
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
หลักการแก้ปัญหา.
อ สิทธิชัย เอี่ยววุฑฒะจินดา
หน่วยที่ 4 หลักการแก้ปัญหากับภาษาคอมพิวเตอร์
ผังงาน (FLOW CHART) ส่วนประกอบของผังงาน (Flow Chart)
ผังงาน (FLOW CHART) ผังงาน (Flow Chart)เป็นรูปแบบของการจำลองความคิดแบบหนึ่ง รูปแบบของการจำลองความคิดเพื่อความสะดวกในการทำงาน แบ่ง เป็น ๒ แบบ คือ ๑) แบบข้อความ.
การเขียนซูโดโค้ด และการเขียนโฟลชาร์ต
บทที่ 2 แนวคิดในการเขียนโปรแกรม. ขั้นตอนการ พัฒนาโปรแกรม ในการพัฒนาโปรแกรมมีขั้นตอนหลัก 5 ขั้นตอน ซึ่งไม่ว่าจะทำการพัฒนาโปรแกรม ครั้งใดจะต้องปฏิบัติตามขั้นตอนเหล่านี้
การแก้ปัญหาโปรแกรม (Flowchart)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
เด็กหญิง นัฐนรี โยธาตรี เลขที่ 13 ม.3/1
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเขียน Flow Chart.
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flow chart).
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
20 May 2556 Problem Analysis and Algorithms in Programming.
การเขียนโปรแกรมแบบลำดับ
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
การเขียนผังงาน (Flowchart)
Problem Analysis and Algorithm (การวิเคราะห์ปัญหา และการจำลองความคิด)
Problem Analysis and Algorithm in Programming (การวิเคราะห์ปัญหา และการจำลองความคิดในการเขียนโปรแกรมคอมฯ)
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
วิชาคอมพิวเตอร์ คุณครูภาราดร ฟุ้งเฟื้อง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การออกแบบโปรแกรม ขั้นตอนการแก้ปัญหา การนิยามปัญหา (Problem definition) การวิเคราะห์ปัญหา (Problem analysis) การออกแบบอัลกอริธึม (Algorithm design) การพัฒนาโปรแกรม (Program development) การทดสอบโปรแกรม (Program Testing)

การนิยามปัญหา ขั้นตอน What is the problem? ปัญหาคืออะไร เราต้องเข้าใจปัญหาก่อน หรือเข้าใจโจทย์ก่อน ผลลัพธ์คืออะไร

การวิเคราะห์ปัญหา สิ่งที่ต้องพิจารณา Input ? (พิจารณาจาก Output) Process (ยังไม่ต้องสนใจตอนนี้) Process Input Output 1 2 3

แนวความคิดเบื้องต้น การวิเคราะห์ปัญหา แนวความคิดเบื้องต้น การวิเคราะห์ปัญหา การวิเคราะห์ปัญหา Process เขียนขั้นตอนการแก้ปัญหา วิเคราะห์ผลลัพธ์ วิเคราะห์ Input

แนวความคิดเบื้องต้น การวิเคราะห์ปัญหา แนวความคิดเบื้องต้น การวิเคราะห์ปัญหา การวิเคราะห์ปัญหา วิเคราะห์ผลลัพธ์ วิเคราะห์ Input Process เขียนขั้นตอนการแก้ปัญหา ต้องการทราบพื้นที่สี่เหลี่ยม Input w,h Area = w * h Display Area ความกว้าง และ ความสูง ของสี่เหลี่ยม

การเขียนอัลกอริธึม (Algorithms) หมายถึง คำอธิบายขั้นตอนในการแก้ปัญหา ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการแก้ปัญหา (Process) ขั้นตอนการพัฒนาอัลกอริธึม แตกปัญหาออกเป็นงานๆ หรือเป็นชิ้นใหญ่ก่อน มองความสัมพันธ์ระหว่างงาน ว่างานใด ควรทำก่อน หรืองานใดทำทีหลัง หรือมีเงื่อนไขอย่างไร หรือต้องทำซ้ำ ตลอดจนวิธีติดต่อระหว่างกันของงาน จากนั้น พัฒนาวิธีแก้ปัญหา แต่ละส่วนลงไปในรายละเอียด

การพัฒนาอัลกอริธึม การวิเคราะห์งาน example: จงเขียนโปรแกรมคำนวณหาค่า y ของสมการ y = x^2 + 2x +10 วิเคราะห์งานได้ดังนี้: output : แสดงค่า y input : รับค่า x (อาจรับจาก keyboard หรือกำหนดค่าในโปรแกรม) Process: แบ่งงานเป็น 3 งาน คือ 1. งานรับค่า x จากแป้นพิมพ์ 2. งานคำนวณ y = x*x + 2*x + 10 3. งานพิมพ์ค่า y

การพัฒนาอัลกอริธึม เครื่องมือใช้เขียนอัลกอริธึม ข้อดีของรหัสเทียม รหัสเทียม (Pseudo code) ผังงาน (Flow chart) ข้อดีของรหัสเทียม แปลงเป็นโปรแกรมได้ง่าย ข้อดีของผังงาน อ่านง่าย เข้าใจตรงกันได้

สัญลักษณ์ในผังงาน จุดเริ่มต้น หรือสิ้นสุด แฟ้มข้อมูล START STOP จุดเริ่มต้น หรือสิ้นสุด แฟ้มข้อมูล อ่านข้อมูลเข้า หรือแสดงผล จุดเชื่อมต่อในหน้าเดียวกัน ประมวลผล โปรแกรมย่อย ตัดสินใจ พิมพ์ผลทางเครื่องพิมพ์ แสดงผลทางหน้าจอ แสดงทิศทางการประมวลผล

โปรแกรมเขียนผังงาน โปรแกรมวาดแผนผัง โปรแกรมสร้าง code จาก flowchart Visio Power Point ฯลฯ โปรแกรมสร้าง code จาก flowchart Magic Flowchart devFlowCharter

การพัฒนาอัลกอริธึม example: จงเขียนโปรแกรมคำนวณหาค่า y ของสมการ y = x^2 + 2x +10

แบบฝึกหัด 3. จงเขียนผังงานแสดงการหาเศษเหลือ สมมุติว่ามีเงิน N บาท ต้องการทราบว่ามีใบละ 100 ใบ 50 ใบ 20 เหรียญ 10 เหรียญ และ เหรียญ 1 บาท อย่างละกี่อัน เช่น N = 256 บาท 100 มี 2 50 มี 1 5 มี 1 1 มี 1