มโนทัศน์เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Dr.Smira Chittaladakorn
Advertisements

esearch and Development
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
เทคนิคการอ่านรายงานการวิจัย
กระบวนการวิจัย(Research Process)
อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
รหัสวิชา ระเบียบวิธีการวิจัย (Research Methodology)
นายเกียงไกร แปลงไทยสง
วิธีการแสวงหาความรู้
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
โดย อาจารย์ ดร.มาเรียม นิลพันธุ์
Experimental Research
การวางแผนและการดำเนินงาน
การวิจัยสถาบัน ดร.จักษ์ พันธ์ชูเพชร
แนวคิดเกี่ยวกับการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
การวิจัยการศึกษา.
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจ
: ความหมาย และประเภทการวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
การเขียนโครงร่างการวิจัย
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
วิธีการทางวิทยาการระบาด
ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การจัดกระทำข้อมูล.
เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
กระบวนการวิจัยเชิงประเมิน
การเขียนรายงานการวิจัย
การออกแบบการวิจัย (Research Design)
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
การเขียนรายงานการวิจัย
กระบวนการวิจัย Process of Research
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คำอธิบายรายวิชา.
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการทำวิจัย
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
การวิจัยการสื่อสารการตลาด (AMC2202)
IDS 3901 ค้นคว้าวิจัยงานออกแบบ. บทที่ 1 บทนำ 1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา เนื้อหาในส่วนนี้มาจากข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวกับ เรื่องที่จะทำ ประวัติความเป็นมาของตัวสินค้าหรือตัว.
การอ่านผลงานวิจัย / เอกสารวิชาการ เพื่อการทำวรรณกรรม ปริทัศน์
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
CLASSROOM ACTION RESEARCH
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
ประเภทของการวิจัย อาจารย์พุทธิวัฒน์ ไวยวุฒิธนาภูมิ
เกริ่นนำงานวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยทางธุรกิจ Business Research
Introduction to Public Administration Research Method
Introduction to Public Administration Research Method
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มโนทัศน์เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง

บทที่ 1 บทนำ พัฒนาการของการแสวงหาความรู้ ความหมายของการวิจัย วัตถุประสงค์ของการวิจัย ธรรมชาติและลักษณะของการวิจัย ลักษณะของนักวิจัยที่ดี ขั้นตอนการวิจัย ประเภทของการวิจัย

1.1 พัฒนาการของการแสวงหาความรู้ 1.1 พัฒนาการของการแสวงหาความรู้ วิธีการในสมัยโบราณ โดยบังเอิญ (By chance) โดยขนบธรรมเนียมประเพณี (By tradition) โดยผู้มีอำนาจ (By authority) จากประสบการณ์ส่วนตัว (By personal experience) โดยการลองผิดลองถูก (By trail and error) โดยผู้เชี่ยวชาญ (By expert)

วิธีอนุมาน (Deductive method) ผู้นำแนวคิด: อริสโตเติล ประกอบด้วย เหตุใหญ่: เป็นข้อเท็จจริงใหญ่ที่บอกถึงลักษณะทั้งมวลของเรื่องนั้น เหตุย่อย: เป็นข้อเท็จจริงเฉพาะกรณี ข้อสรุป: เป็นผลที่ได้จากการพิจารณาความสัมพันธ์ของเหตุใหญ่และเหตุย่อย ถือว่าเป็นความรู้ที่ต้องการ

วิธีอุปมาน (Inductive method) ผู้นำแนวคิด: ฟรานซิส เบคอน วิธีการ เก็บข้อมูล (เหตุย่อย) วิเคราะห์ข้อมูล (พิจารณาความสัมพันธ์ของเหตุย่อย) สรุปผล (ผลใหญ่)

วิธีอนุมาน-อุปมาน (Deductive - Inductive method) ผู้นำแนวคิด: ชาร์ลส์ ดาร์วิน ขั้นตอน ขั้นปัญหา นิยามปัญหา ตั้งสมมติฐาน ลองคิดหาคำตอบ ตรวจสอบความถูกต้องของสมมติฐาน โดยวิธีอนุมาน ทดสอบสมมติฐานโดยการปฏิบัติ โดยวิธีอุปมาน

วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific method) ขั้นตอน ขั้นตั้งปัญหา (Problem) ขั้นตั้งสมมติฐาน (Hypothesis) ขั้นเก็บรวบรวมข้อมูล (Collection of data) ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis of data) ขั้นสรุปผล (Conclution)

1.2 ความหมายของการวิจัย Kerlinger(1986)“a systematic controlled empirical and critical investigation of propositions about the presumed relationships about various phenomena” Burns (1994) “a systematic investigation to find answers to a problem” การวิจัย (Research) หมายถึง การค้นคว้าหาความรู้ความจริงโดยวิธีการทีมีระบบเชื่อถือได้

1.3 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1.3 วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อการแก้ปัญหา (problem solving research) เพื่อสร้างทฤษฎี (Theory–developing research) ใช้อ้างอิง (Generalization) อธิบาย (Explanation) ทำนาย (Prediction) ควบคุม (Control) เพื่อพิสูจน์ทฤษฎี (theory testing research)

1.4 ธรรมชาติและลักษณะของการวิจัย Controlled Rigorous Systematic Valid and varifiable Empirical Critical

1.5 ลักษณะของนักวิจัยที่ดี Pan Pacific Science Contest (1961) R = Recruitment & Relationship E = Education & Efficiency S = Science & Stimulation E = Evaluation & Environment A = Aim & Attitude R = result C = Curiousity H = Horison

1.6 ขั้นตอนการวิจัย เลือกหัวข้อปัญหา 1.6 ขั้นตอนการวิจัย เลือกหัวข้อปัญหา ศึกษาค้นคว้าทฤษฎีจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ให้คำจำกัดความปัญหา/นิยามปัญหาวิจัย ตั้งสมมติฐาน (ถ้ามี) กำหนดขอบเขตของการวิจัย (ตัวแปร ข้อมูลและแหล่งข้อมูล) วางแผนออกแบบการวิจัย

ทดลองและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ สร้างเครื่องมือ ทดลองและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ เลือกและกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง เก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์และจัดกระทำข้อมูล เขียนรายงานการวิจัย

1.7 ประเภทของการวิจัย จำแนกตามจุดมุ่งหมายและประโยชน์ของการวิจัย การวิจัยพื้นฐานหรือการวิจัยบริสุทธิ์ (Basic Research/Pure Research) การวิจัยประยุกต์ (Applied Research) การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research/ Operations Research)

การวิจัยและพัฒนา (Research and Development) การวิจัยในชั้นเรียน (Classroom Research/ Classroom Action Research) การวิจัยนโยบาย (Policy Research) การวิจัยสถาบัน (Institutional Research/ Administrative Research)

จำแนกตามลักษณะข้อมูล การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) การวิจัยเชิงคุณลักษณะหรือเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) การศึกษาทางมานุษยวิทยา (Anthropological Studies) การศึกษาทางชาติพันธุ์วรรณา (Ethnographic Study) การศึกษาทางชาติพันธุ์วรรณาระดับแคบ (Microethnoraphy Study) การศึกษาปรากฏการณ์ (Phenomenological Study)

จำแนกตามลักษณะการจัดกระทำต่อข้อมูล การวิจัยเชิงธรรมชาติ (Naturalistic Research) การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) การวิจัยเชิงทดลองที่แท้จริง (True Experimental Research) การวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi Experimental Research)

จำแนกตามเงื่อนไขเวลา การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ (Historical Research) การวิจัยเชิงบรรยาย (Descriptive Research) การศึกษาเชิงสำรวจ (Survey Studies) การศึกษาความสัมพันธ์ (Interrelation Studies) การศึกษาเฉพาะกรณี (Case Studies) การศึกษาติดตามผล (Follow-Up Studies) การศึกษาเปรียบเทียบ (Comparative Studies) การศึกษาสหสัมพันธ์ (Correlation Studies) การวิเคราะห์เอกสาร (Documentary Studies)

การศึกษาพัฒนาการ (Development Studies) การศึกษาความเจริญเติบโต (Growth Studies) การศึกษาแนวโน้ม (Trend studies or Educational Future Research)

THE END