ทดสอบความรู้วิชาชีวเคมี เรื่อง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โปรแกรมฝึกหัด การเลื่อนและคลิกเมาส์
Advertisements

วิธีการตั้งค่าและทดสอบ เครื่องคอมพิวเตอร์ก่อนใช้งาน
Proprietary and Confidential © Astadia, Inc. | 1.
วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
ปฏิกิริยาการเตรียม Amines
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
ปฏิกิริยาจัดเรียงตัว
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลัง
Cellular Respiration 18,25 ก.ย. 56
ชีวเคมี II Bioenergetics.
Introduction to Enzymes
กรดนิวคลีอิก (Nucleic acid)
กฎหมายแรงงานสัมพันธ์
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง ที่เป็นผลต่างของกำลังสอง
The Genetic Basis of Evolution
Transcription.
5.Hofmann Elimination ใช้ปฏิกิริยานี้ในการวิเคราะห์สูตรโครงสร้าง
Mr. POP (Sarote Boonseng) Mahidol Wittayanusorn School
Sarote Boonseng Nucleic acids.
Naming and Physical & Chemical Properties of Organic Chemistry
Gene and Chromosome UMAPORN.
(เฟส 1 ระยะทดลองใช้งาน อรม.อร.)
กระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์
บทที่ 4 Aromatic Hydrocarbons
บทที่ 9 Amines.
บทที่ 6 Alcohols and Ethers
บทที่ 1 Introduction.
บทที่ 3 Alkenes & Alkynes
การแปลงภาพสีเทาให้เป็นภาพขาวดำ
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
Kampol chanchoengpan it สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ Arithmetic and Logic Unit 1.
บทที่ 2 อาร์เรย์ อาร์เรย์ คือ ชุดของตัวแปรเดียวกัน ซึ่งสมาชิกของอาร์เรย์จะเป็นตัวแปรพื้นฐาน จำนวนสมาชิกในอาร์เรย์มีขนานแน่นอน และสมาชิกของอาร์เรย์แต้ละตัว.
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
DNA สำคัญอย่างไร.
Biochemistry Quiz 2009.
การสังเคราะห์กรดไขมัน (ที่อยู่นอก Mitochondria)
Biosynthesis of Heme.
การทำผลงานวิชาการ สงวนลิขสิทธิ์.....โดย ดร.สุรชาติ สังข์รุ่ง.
ความหมายของวิทยาศาสตร์
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร อ32204
เพื่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร.พันธ์ ทองชุมนุม
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
พันธุศาสตร์เบื้องต้น (Principle of genetics)
โครงสร้างข้อมูล Queues
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
ภาคต้น 2557 เรื่อง Lipids (ตอนที่ 1)
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
ขั้นตอนการยื่นขอตรวจคุณสมบัติฯ ทาง INTERNET
เคมีของชีวิต สารประกอบอินทรีย์
แผนการจัดการเรียนรู้
พันธุศาสตร์โมเลกุล การปรับปรุงพันธุ์ ลักษณะตามต้องการ
ยีนและโครโมโซม ครูจุมพล คำรอต
12 Nov 2014 Metabolism of Nucleotides
โครงการเทคนิคและเทคโนโลยีสนับสนุนงานตรวจสอบ “Risk & Control” จัดโดย สำนักงานตรวจสอบภายใน จุฬาฯ วันที่ 22 กรกฎาคม 2553.
โครงการจัดทำฐานข้อมูลผ่านเว็บไซต์
19 Nov 2014 Metabolic Integration (เมแทบอลิซึมผสมผสาน)
Carbohydrate
ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อ.ธนวัฒน์ ชัยพงศ์พัชรา วิทยาลัยสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
สารชีวโมเลกุล (Biomolecules) ดร.ธิดา อมร.
ผู้ช่วยสอน : นางสาวอมรรัตน์ ตันบุญจิตต์
ชั่วโมงที่ 39 กรดนิวคลิอิก
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
พลังงานในสิ่งมีชีวิต
CARBOHYDRATE METABOLISM
กรดนิวคลีอิก(nucleic acid)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทดสอบความรู้วิชาชีวเคมี เรื่อง Nucleotides โดย ดร.พรเทพ สุขะเนนย์

C N CH H C N HC CH H Pyrimidine Purine Purine Bases Pyrimidine Bases Cytosine Thymine Uracil Adenine Guanine Xanthine Hypoxanthine

Purine Bases C N CH NH2 H C HN N CH H2N O C HN N CH O C HN HC N CH O H Adenine Guanine C HN N CH O H C HN HC N CH H O Xanthine Hypoxanthine

สารประกอบใดที่มีโครงสร้างแบบ Purine ? A) Adenine B) Thymine C) Uracil D) Cytosine

Pyrimidine Bases Thymine Uracil Cytosine HN N O H CH3 HN N O H N NH2 H

2. สารประกอบใดที่มีโครงสร้าง แบบ Pyrimidine ? A) Adenine B) Thymine C) Guanine D) Xanthine

Purine Base amino group NH2 C N N C CH HC C N N H H Adenine

Purine Base O C N N C CH C C N H2N N H H Guanine

Purine Base O C N HN C CH C C O N N H H Xanthine

Purine Base O C N HN C CH H C C N N H H Hypoxanthine

Coffee beans Coffee Caffeine

Caffeine เป็นสารประกอบที่มีโครงสร้างพื้นฐานมาจากสารประกอบใด ? A) Adenine B) Thymine C) Guanine D) Xanthine O CH3 H3C N H N 6 5 7 1 2 4 O 3 N N H H CH3

Caffeine จะมี methyl group ในสูตรโครงสร้างของสารประกอบจำนวนกี่ตัว? 1 2 3 4 N O 2 6 CH3 H3C 1 3 4 5 7

O CH3 H3C O O CH3 H3C CH3 N N HN N 1,3,7-trimethylxanthine H 2 6 CH3 H3C 1 3 4 5 7 1,3,7-trimethylxanthine N O 2 6 H3C CH3 1 3 4 5 7 H HN N O 2 6 CH3 1 3 4 5 7 1,3-dimethylxanthine 3,7-dimethylxanthine

5. สารประกอบที่มี 3, 7 – dimethylxanthine เป็นสูตรโครงสร้างที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของเครื่องดื่มชนิดใด ? A) กาแฟ B) ชา C) โกโก้ D) น้ำส้มคั้น HN N O 2 6 CH3 1 3 4 5 7

6. สารประกอบที่มี Purine หรือ pyrimidine bases ต่อเข้ากับ D – ribose หรือ deoxyribose คือสารประกอบประเภทใด ? A) Nucleosides B) Nucleotides C) Nucleic acid D) DNA หรือ RNA

Adenosine NH2 N N 6 7 1 Adenine 8 9 N N HOCH2 O D-Ribose OH OH

7. Adenosine มีโครงสร้างประกอบด้วยอะไรบ้าง? A) Adenine + D – ribose ที่ตำแหน่ง N1 B) Adenine + Deoxyribose ที่ตำแหน่ง N1 C) Adenine + D – ribose ที่ตำแหน่ง N9 D) Adenine + deoxyribose ที่ตำแหน่ง N9

Cytidine Cytosine D-ribose -N-glycosidic linkage NH2 N O HOCH2 O OH 3 Cytosine 2 1 -N-glycosidic linkage HOCH2 O D-ribose OH OH

8. Cytidine มีโครงสร้างประกอบด้วยอะไรบ้าง? A) Cytosine + D-ribose ที่ N1 B) Cytosine + Deoxyribose ที่ N1 C) Cytosine + D-ribose ที่ N9 D) Cytosine + Deoxyribose ที่ N9

Nucleosides Nucleotides + + + Purine Pyrimidine Purine Pyrimidine Ribose Deoxyribose Pyrimidine Nucleotides + + Purine Ribose Deoxyribose Phosphate Pyrimidine

9. สารประกอบที่มี Purine หรือ Pyrimidine bases ต่อเข้ากับ D-ribose หรือ Deoxyribose และ phosphate เรียกว่า … A) Nucleosides B) Nucleotides C) Nucleic Acids D) DNA และ RNA

C N CH NH2 H C HN N CH H2N O Cytosine Thymine Uracil H Adenine Guanine

10. สารประกอบในรูปนี้มีชื่อว่าอะไร? A) Adenine B) Guanine C) Cytosine 10. สารประกอบในรูปนี้มีชื่อว่าอะไร?   A) Adenine B) Guanine C) Cytosine D) Thymine 6-aminopurine  

2-oxy-4-aminopyrimidine 11. สารประกอบในรูปนี้มีชื่อว่าอะไร? A) Adenine B) Guanine C) Cytosine D) Thymine 2-oxy-4-aminopyrimidine

Xanthine CH3 O CH3 N HN 6 5 7 1 8 2 4 3 9 O N N H H CH3

สารประกอบในรูปนี้มีสูตรโครงสร้างเรียกว่าอะไร? A) Xanthine B) 1, 3, 7-trimethylxanthine C) 1, 3-dimethylxanthine D) 3, 7-dimethylxanthine

13. สารประกอบในรูปนี้มีสูตรโครงสร้างเรียกว่าอะไร? A) Xanthine B) 1, 3, 7-trimethylxanthine C) 1, 3-dimethylxanthine D) 3, 7-dimethylxanthine

14. สารประกอบในรูปนี้มีสูตรโครงสร้างเรียกว่าอะไร? A) Xanthine B) 1, 3, 7-trimethylxanthine C) 1, 3-dimethylxanthine D) 3, 7-dimethylxanthine

Adenosine NH2 N N 6 7 1 Adenine 8 9 N N HOCH2 O D-Ribose OH OH

15. สารประกอบในรูปนี้มีสูตรโครงสร้างเรียกว่าอะไร? 15. สารประกอบในรูปนี้มีสูตรโครงสร้างเรียกว่าอะไร? A) Adenosine monophosphate B) Guanosine monophosphate C) Deoxyadenosine 5’ –monophosphate D) Deoxyguanosine 5’ –monophosphate

Purine Bases C N CH NH2 H C HN N CH H2N O C HN N CH O C HN HC N CH O H Adenine Guanine C HN N CH O H C HN HC N CH H O Xanthine Hypoxanthine

16. Purine bases หมายถึงสารประกอบจำพวกใด? A) Adenine, Guanine, Thymine B) Adenine, Guanine, Xanthine C) Adenine, Thymine, Xanthine D) Cytosine, Thymine, Uracil

Pyrimidine Bases Cytosine Thymine Uracil N NH2 H O HN N O H CH3 HN N O

17. Pyrimidine bases หมายถึงสารประกอบจำพวกใด? A) Adenine, Guanine, Thymine B) Adenine, Guanine, Xanthine C) Adenine, Thymine, Xanthine D) Cytosine, Thymine, Uracil

Nucleosides Nucleotides + + + Purine Pyrimidine Purine Pyrimidine Ribose Deoxyribose Pyrimidine Nucleotides + + Purine Ribose Deoxyribose Phosphate Pyrimidine

ATP

18. ATP เป็น adenosine derivatives ประเภทใด? A) Nucleosides B) Nucleotides C) Nucleic Acid D) DNA หรือ RNA

ที่มาของ Cyclic AMP

19. Cyclic AMP เปลี่ยนแปลงมาจากสารประกอบใด? A) AMP B) ADP C) ATP D) cGMP

Guanosine Derivatives Cyclic GMP (Guanosine 3', 5' monophosphate) มาจาก GTP โดยปฏิกิริยาที่ใช้ enzyme ชื่อ Guanylate cyclase  Guanylate cyclase GTP cGMP cGMP

20. Cyclic GMP เปลี่ยนแปลงมาจากสารประกอบใด? A) GMP B) GDP C) GTP D) cAMP

21. Coenzyme มีสูตรโครงสร้างคล้ายกับสารประกอบใดมากที่สุด? A) AMP B) GMP C) cAMP D) cGMP

O OH HN N HOCH2 O HOCH2 OH Ribose HN N Uracil O H + Uridine Uridine + 2 Phosphate = Uridine diphosphate (UDP) UDP + Glucose = UDP-Glucose (เกี่ยวข้องในเรื่อง การสังเคราะห์ Glycogen) UDP-Glucose = Uracil derivatives (สารประกอบที่เปลี่ยนแปลงมาจาก Uracil)

22. UDP-Glucose เป็นสารประกอบที่เปลี่ยนแปลงมาจากสารประกอบใด? A) Urea B) Uric acid C) Uracil D) Uracine

23. UDP-Glucose เกี่ยวข้องกับ Metabolic pathway ของ Carbohydrate ในเรื่องใด? A) Glycolysis (Glucose   Pyruvate / Lactate) B) Glycogenesis (Glucose   Glycogen) C) Glycogenolysis (Glycogen   Glucose) D) Gluconeogenesis (Non-CHO ----- Glucose)

24. UDP (Uridine diphosphate)เป็นสารประกอบประเภทใด? A) Nucleosides B) Nucleotides C) Nucleic Acid D) DNA หรือ RNA

Pyrimidine Bases Cytosine Thymine Uracil + + + Cytidine Thymidine NH2 H O HN N Thymine O H CH3 HN N Uracil O H Ribose + Ribose + Ribose + Cytidine Thymidine Uridine Nucleosides

25. สารประกอบจำพวก Nucleosides (ดังรูป) มีชื่อเรียกว่าอะไร? A) Cytosine B) Cytidine C) CDP D) CTP O OH N NH2 HOCH2

Purine bases C HN N CH O C HN HC N CH O C HN N C = O O H H Xanthine Hypoxanthine C HN N C = O O H Uric Acid 2,6,8-trioxypurine

Purine base ที่มีโครงสร้างคล้าย Xanthine และ Hypoxanthine C HN N C = O O H Uric Acid 2,6,8-trioxypurine Purine nucleosides เช่น Adenosine และ Guanosine เปลี่ยนแปลงเป็น Hypoxanthine และ Xanthine ได้ และในขั้นตอนสุดท้ายเป็น Uric Acid

26. Uric acid เป็นสารประกอบประเภทใด ? Nucleosides Nucleotides Purine bases Pyrimidine bases

End of Test