งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กรดนิวคลีอิก(nucleic acid)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กรดนิวคลีอิก(nucleic acid)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กรดนิวคลีอิก(nucleic acid)
ว30241 ชีววิทยา 1 นางฉัตรสุดา สุยะลา ครูชำนาญการพิเศษ โรงเรียนพิบูลมังสาหาร โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี

2 โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี
กรดนิวคลีอิกคืออะไร กรดนิวคลีอิก (nucleic acid) เป็นสารอินทรีย์ที่สำคัญของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด พบครั้งแรกโดย เอฟ มิชเชอร์ (Friedrich Miescher) ในปี ค.ศ (พ.ศ. 2413) และตั้งชื่อว่า นิวคลีอิน (nuclein) ต่อมาเมื่อพบว่า มีสภาพเป็นกรดจึงได้ชื่อว่า กรดนิวคลีอิก ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี

3 กรดนิวคลีอิกสำคัญอย่างไร
กรดนิวคลีอิกเป็นสารชีวโมเลกุลที่มีขนาดใหญ่ ทำหน้าที่ เก็บและถ่ายทอดข้อมูลทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตจาก รุ่นหนึ่งไปยังรุ่นต่อไปให้แสดงลักษณะต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต ควบคุมการเจริญเติบโตและกระบวนการต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต นิวคลีโอไทด์เป็นสารที่ให้พลังงานสูง เช่น ATP (adenosine triphosphate) ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี

4 ส่วนประกอบของกรดนิวคลีอิก
โมเลกุลของกรดนิวคลีอิก ประกอบด้วย หน่วยย่อยที่เรียกว่า นิวคลีโอไทด์ (nucleotide) จำนวนมากมาสร้างพันธะโคเวเลนซ์ต่อกันเป็นสายยาว เรียกว่า พอลินิวคลีโอไทด์ (polynucleotide) ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี

5 ส่วนประกอบของนิวคลีโอไทด์
โมเลกุลของนิวคลีโอไทด์ ประกอบด้วย ส่วนย่อย 3 ส่วน ได้แก่ 1. หมู่ฟอสเฟต (PO43-) 2. น้ำตาลที่มีคาร์บอน 5 อะตอม (pentose) 3. ไนโตรจีนัสเบส (nitrogenous base) ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี

6 ส่วนประกอบของนิวคลีโอไทด์
เป็นบริเวณที่สามารถสร้างพันธะกับ น้ำตาลเพนโทสของนิวคลีโอไทล์ อีกโมเลกุล  ทำให้โมเลกุลของนิวคลีโอไทด์ แต่ละโมเลกุลสามารถเชื่อมต่อกันได้ หมู่ฟอสเฟต ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี

7 ส่วนประกอบของนิวคลีโอไทด์
น้ำตาลที่มีคาร์บอน 5 อะตอม (pentose) น้ำตาลไรโบส (ribose)  มีสูตรโมเลกุล C5H10O5  เป็นส่วนประกอบของกรดไรโบนิวคลีอิก (ribonucleic acid, RNA)  น้ำตาลดีออกซีไรโบส (deoxyribose) มีสูตรโมเลกุล C5H10O4 เป็นส่วนประกอบของกรดดีออกซีไรโบนิวคลีอิก (deoxyribonucleic acid, DNA) ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี

8 ส่วนประกอบของนิวคลีโอไทด์
ไนโตรจีนัสเบส (nitrogenous base) เป็นเบสที่มีไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ มีโครงสร้างทางเคมีแตกต่างกัน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ พิวรีน (purine) เป็นเบสที่มีโครงสร้างหลักเป็นวงแหวน วงที่มีอะตอมของคาร์บอนและไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ ไพริมิดีน (pyrimidine) เป็นเบสที่มีโครงสร้างหลักเป็นวงแหวน 1 วง ที่มีอะตอมของคาร์บอนและไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี

9 ส่วนประกอบของนิวคลีโอไทด์
ไนโตรจีนัสเบส (nitrogenous base) พิวรีน (purine) ได้แก่ อะดีนีน กวานีน (adenine หรือ A) (guanine หรือ G) ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี

10 ส่วนประกอบของนิวคลีโอไทด์
ไนโตรจีนัสเบส (nitrogenous base) ไพริมิดีน (pyrimidine) ได้แก่ ไซโทซีน ไทมีน ยูราซิล (cytosine หรือ c) (thymine หรือ G) (uracil หรือ U) ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี

11 ชนิดของนิวคลีโอไทด์ นิวคลีโอไทด์แต่ละหน่วยในกรดนิวคลีอิก
นิวคลีโอไทด์ มีอยู่ด้วยกัน 5 ชนิด แตกต่างกันตามส่วนประกอบที่เป็นไนโตรจีนัสเบส ดังนี้ 1. นิวคลีโอไทด์ที่มีเบสกวานีน 2. นิวคลีโอไทด์ที่มีเบสอะดีนีน 3. นิวคลีโอไทด์ที่มีเบสไทมีน 4. นิวคลีโอไทด์ที่มีเบสไซโทซีน 5. นิวคลีโอไทด์ที่มีเบสยูราซิล นิวคลีโอไทด์แต่ละหน่วยในกรดนิวคลีอิก จะมีหมู่ฟอสเฟตเชื่อมต่อกับคาร์บอนตำแหน่งที่ 5 ของน้ำตาลเพนโทส และมีไนโตรจีนัสเบสเชื่อมต่อกับคาร์บอนตำแหน่งที่ 1 ของน้ำตาลเพนโทส ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี

12 โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี
ชนิดของนิวคลีโอไทด์ นิวคลีโอไทด์ 5 ชนิด นิวคลีโอไทด์ที่มีเบสอะดีนีน นิวคลีโอไทด์ที่มีเบสกวานีน นิวคลีโอไทด์ที่มีเบสไซโทซีน นิวคลีโอไทด์ที่มีเบสไทมีน นิวคลีโอไทด์ที่มีเบสยูราซิล ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี

13 โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี
ชนิดของกรดนิวคลีอิก กรดนิวคลีอิก มี 2 ชนิด DNA RNA (deoxyribonucleic acid) (ribonucleic acid)             ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี

14 โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี
DNA DNA (deoxyribonucleic acid) พบในนิวเคลียสของเซลล์เป็นสารพันธุกรรม มีหน้าที่เก็บข้อมูลทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต และถ่ายทอดข้อมูลทางพันธุกรรมจากรุ่นพ่อแม่ไปสู่รุ่นลูก โมเลกุล DNA ประกอบด้วยพอลินิวคลีโอไทด์ 2 สาย (double standed DNA) เรียงตัวสลับทิศทางกันและมีส่วนของเบสยึดกันด้วยพันธะไฮโดรเจนสาย DNA บิดเป็นเกลียวคล้ายบันได เวียนขวา             ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี

15 โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี
DNA จะเห็นว่าสายด้านหนึ่งมีจะมีหมู่ฟอสเฟตเชื่อมอยู่ กับน้ำตาลดีออกซีไรโบส ที่คาร์บอนตำแหน่งที่ 5 เรียกปลายด้านนี้ว่าเป็นปลาย 5  (อ่านว่า 5 ไพร์ม) และอีกปลายด้านหนึ่งจะมี หมู่ไฮดรอกซิล ที่คาร์บอนตำแหน่งที่ 3  ที่เป็นอิสระ เรียกปลายด้านนี้ของสาย DNA ว่าปลาย 3 (อ่านว่า 3 ไพร์ม) ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี

16 โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี
RNA พบในนิวเคลียสและไซโทพลาซึมของ สิ่งมีชีวิต มีหน้าที่คือ รับข้อมูลทางพันธุกรรมจาก DNA เพื่อนำไปในสังเคราะห์โปรตีนรวมทั้งเอนไซม์และฮอร์โมนต่างๆ ภายในเซลล์ โมเลกุล RNA ประกอบด้วยพอลินิวคลีโอไทด์เพียงสายเดียวที่มีการบิดม้วนเป็นเกลียว ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี

17 โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี
DNA  RNA nucleotide DNA RNA หมู่ฟอสเฟต PO43- น้ำตาลเพนโทส น้ำตาลดีออกซีไรโบส น้ำตาลไรโบส ไนโตรจีนัสเบส เบสกวานีน เบสไซโทซีน เบสอะดีนีน เบสไทมีน เบสยูราซิล ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี

18 โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี
DNA  RNA polynucleotide DNA RNA G A = T , C ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี

19 ประโยชน์ของกรดนิวคลีอิก
1. ประโยชน์ด้านการแพทย์  2. ประโยชน์ในด้านอาชญากรรม  3. ประโยชน์ในด้านการเกษตร ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี

20 ประโยชน์ของกรดนิวคลีอิก
ประโยชน์ด้านการแพทย์  ใช้ในการรักษาโรคทางพันธุกรรม เช่น โรคโลหิตจาง ชนิดเสี้ยวจันทร์ โรคทาลัสซิเมีย และเฮโมฟีเลีย โดยศึกษายีนที่เป็นสาเหตุของโรคแล้วตัดต่อยีนที่เป็น สาเหตุของโรคออกไป จากนั้นนำยีนปกติใส่เข้าไปให้แทนที่ยีนผิดปกติ เรียกว่า ยีนบำบัด (gene therapy) ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี

21 ประโยชน์ของกรดนิวคลีอิก
ประโยชน์ในด้านอาชญากรรม   ใช้ในการพิสูจน์ความเป็นเอกลักษณ์ของบุคคล คนแต่ละคนจะมีลำดับการเรียงตัวของเบส (ยีน) ที่แตกต่างกันยกเว้นฝาแฝดแท้ จึงสามารถนำมาทดสอบความเป็นเอกลักษณ์ D1 และ S1 เป็นลูก ของแต่ละบุคคลได้ เช่น ใช้ในการสืบหาฆาตกรหรือผู้ร้าย สืบหาคนหาย พิสูจน์การเป็น พ่อ แม่ ลูก เป็นต้น ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี

22 ประโยชน์ของกรดนิวคลีอิก
ประโยชน์ในด้านการเกษตร   ใช้ในการปรับปรุงพันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ให้มีคุณสมบัติตามต้องการ เช่น การปรับปรุงให้พืชมีความต้านทานต่อเชื้อโรคและแมลง ปรับปรุงให้พืชมีสีสันสวยงาม การทำให้พืชมีกลิ่นหอมตาม ความต้องการ พืชที่ผ่านการปรับปรุงพันธุ์หรือตัดต่อทางพันธุกรรม เรียกว่า พืช GMOS (Genetically Modified Organism) ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี

23 ประโยชน์ของกรดนิวคลีอิก
ประโยชน์ในด้านการเกษตร  ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี

24 โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี
ขอขอบคุณ สสวท สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สอวน. มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐาน วิทยาศาสตร์ศึกษา รองศาสตราจารย์สุภาพร สุกสีเหลือง ผศ.ดร.ประสงค์ หลำสะอาด และผศ.ดร.จิตเกษม หลำสะอาด ดร.พจน์ แสงมณี, สำนักพิมพ์แม็ค ตรวจแค่เลือด ว30103 ชีววิทยา 1 คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี


ดาวน์โหลด ppt กรดนิวคลีอิก(nucleic acid)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google