การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บูรณาการสู่ความสำเร็จ
Advertisements

กรอบแนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
กระทรวงสาธารณสุข (ร่าง)โครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
การพัฒนาระบบสารสนเทศ : ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
แผนแม่บทงานวิจัย การสร้างเครือข่าย และการสนับสนุนงานวิจัยเชิงพาณิชย์
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
องค์กรภาครัฐในส่วนกลางในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
อนามัยสิ่งแวดล้อม วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
การบริหารจัดการท้องถิ่น
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
จะต้องผ่านเกณฑ์ด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวที่กำหนดไว้ทั้ง 4 ข้อ
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร ณ โรงแรมเจริญ โฮเต็ล จังหวัดอุดรธานี
ขับเคลื่อน....ความร่วมมือ.... ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ภาคเหนือ
แรงงานนอกระบบคือใคร ใครคือแรงงานอกระบบ
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
จังหวัดภาคใต้ชายแดน 9.1 (ยะลา)
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
รายละเอียดลักษณะตัวชี้วัดความสำเร็จกิจกรรมและผลการดำเนินงานควบคุมรายโรค โรคที่สำคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
การปฏิบัติงานร่วมกับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
บทที่10 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ต้นน้ำ : ฟาร์มปศุสัตว์ ฟาร์มสัตว์น้ำ แปลงเพาะปลูก
"เป็นหน่วยงานหลักในการประสาน และผลักดันยุทธศาสตร์กระทรวง
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
ภารกิจและทิศทางการดำเนินงาน กฎหมายสาธารณสุข ของกรมอนามัย
แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
การตรวจราชการแบบบูรณาการ ร่วมกับสำนักนายกรัฐมนตรี
โดย นายแพทย์สุวัช เซียศิริวัฒนา
ระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหาร ระบบการจัดการน้ำบริโภค ของ
หลักการและแนวทางจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม

ชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม รัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 บัญญัติให้กลุ่มต่างๆ ร่วมกันดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม องค์การอิสระ รัฐ องค์กรปกครอง ท้องถิ่น ม.290 องค์กรพัฒนาเอกชน และสถาบันการศึกษา ม.56 ชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม ม.46 ประชาชน ม.59

การมีสุขภาพแข็งแรง (Health) ความหมายสุขภาพ การมีสุขภาพแข็งแรง (Health) ร่างกาย (Physical Health) จิตใจ (Mental Health) สังคม (Social Health) ปัญญา/จิตวิญญาณ (Spiritual Health)

ความหมายของสิ่งแวดล้อม สิ่งต่าง ๆ ทั้งทางธรรมชาติและทางสังคมที่อยู่รอบ ๆ มนุษย์ทั้งที่ดีและไม่ดี (พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ.2542)

สาเหตุของปัญหาสิ่งแวดล้อม การกระทำโดยตรงของมนุษย์ การพัฒนาและการใช้เทคโนโลยี การเพิ่มจำนวนของประชากร

หลักการป้องกันและแก้ไข ปัญหาสิ่งแวดล้อม หลักการป้องกันและแก้ไข ปัญหาสิ่งแวดล้อม การระดมความมีส่วนร่วม การจัดสิ่งแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ การจัดหรืออำนวยความสะดวก การให้การศึกษากับประชาชน การใช้มาตรการทางกฎหมาย

การดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ 25 การดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ พัฒนาระบบ การดำเนินงาน ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ค้นหาปัญหาที่เป็น อันตรายต่อสุขภาพ จากข้อมูลการเฝ้าระวัง รับรองมาตรฐาน คุณภาพอนามัย สิ่งแวดล้อม& คุณภาพชีวิต จัดหาแนวทางคู่มือเกณฑ์ กำหนดมาตรการ มาตรฐานงาน ต่างๆภายใต้กฎหมายสาธารณสุข &กฎหมายที่เกี่ยวข้อง พัฒนาเทคโนโลยีที่ เหมาะสม&ถ่ายทอดสู่ เครือข่าย/ชุมชน/ท้องถิ่น องค์กรภายใต้กลยุทธ์ เมืองน่าอยู่ จัดระบบตรวจสอบ ติดตามประเมินผล& จัดระบบการ เฝ้าระวังต่อเนื่อง

การผลิตภาค การเกษตรกรรม ทำลาย กระทรวงเกษตร (พรบ.วัตถุอันตรา/ พรบ.ฆ่าจำหน่ายเนื้อสัตว์ / พรบ.โรคระบาดสัตว์) ผลกระทบต่อคุณภาพ สวล. -ที่ดิน -แร่ธาติ -แม่น้ำ ลำคลอง -ป่าไม้ -พลังงาน -อากาศ -สัตว์ป่า -ฯลฯ ทรัพยากรธรรมชาติ กระทรวงทรัพยากรฯ(พรบ.สวล.) -มาตรฐานสิ่งแวดล้อม -มาตรฐานโรงฆ่าสัตว์/ที่พัก/ การผลิตภาค การเกษตรกรรม การผลิตภาค อุตสาหกรรม ธุรกิจภาคบริการ กิจการ SME. กิจการในชุมชน -มลพิษทางน้ำ -อากาศเสีย -มาตรฐานสิ่งแวดล้อม -เขตอนุรักษ์/ควบคุมมลพิษ การเพาะปลูก การปศุสัตว์ I -มาตรฐานสารเคมีอันตราย สภาพ แวดล้อมในการทำงาน -มลพิษทางน้ำ -อากาศเสีย -กากของเสีย –สิ่งปฏิกูลมูลฝอย ฝุ่น ละออง เสียง แสง รังสี ความร้อน ความสั่นสะเทือน ฯลฯ -สารเคมีกำจัดศัตรูพืช -ปุ๋ยเคมี /ปุ๋ยชีวภาพ -น้ำเสีย / มูลสัตว์ -สัตว์พาหะนำโรค กระทรวงอุตสาหกรรม (พรบ.โรงงงาน -มาตรฐานน้ำ/อากาศเสีย กระทรวงมหาดไทย (พรบ.อาคาร / พรบ.ผังเมือง / พรบ.รักษาฯ / -สวัสดิการ/สภาพแวดล้อมในการทำงาน กระทรวงแรงงาน (พรบ.คุ้มครองแรงงาน) สภาพแวดล้อมของชุมชน / บริเวณที่หรือทางสาธารณะ สุขภาพ ประชาชน การจราจร หาบเร่/แผงลอย อปท. การสร้างอาคาร ตลาด/ร้านอาหาร กระทรวงสาธารณสุข (พรบ.สธ. /พรบ.อาหาร/ พรบ.โรคติดต่อ พรบ.สถานพยาบาล) อปท. กรมขนส่งทางบก / สำนักงานตำรวจแห่งชาติ (พรบ.ขนส่งฯ / จราจร) โรงเรียน โรงพยาบาล กิจการอื่นๆ

งานอนามัยสิ่งแวดล้อม 17 เรื่อง บทบาทของภาคีในขอบเขตงานอนามัยสิ่งแวดล้อม Positioning ของกรมอนามัย Developer Facilitator Coordinator งานอนามัยสิ่งแวดล้อม 17 เรื่อง งานตาม กม.สธ. งานนอก เหนือ กม. งานตาม กม.สวล.อื่นๆ 3 กรณีปัญหาที่เกิดขึ้นในอนาคต สร้างองค์ความรู้ กลไก พรบ.สธ. Supportive Env. For H. กลไก HIA. อปท. + สสจ.(ภูมิภาค) ภาคี (กระทรวงอื่น) จัดการให้ชุมชน / เมือง / ประชาชน อยู่ในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพดี 1 2 ใช้ พรบ.สธ.เป็นเครื่องมือ ชี้แนะ นำเสนอ

หนทางสู่..เมืองน่าอยู่ การทำ… “เมืองน่าอยู่” คือ การสร้างความเข้มแข็งของชุมชน สร้างความมั่นคงและสภาพแวดล้อมที่ดี ทั้งทางเศรษฐกิจ สังคมสิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม ให้ประชาชนอยู่ดีมีสุข โดยอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน มุ่งให้เกิดบูรณาการ เกิดความสมดุลในทุกด้านและนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

สุขภาพกับเมืองน่าอยู่ แนวคิด เป็นการพัฒนารูปแบบสุขภาพเชิงบวก (Positive Model of Health) เป็นการพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพ(Ecological Model of Health) กลยุทธ์ มุ่งเน้นที่กระบวนการ(Focus on Process) สร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ(Healthy Public Policy) สร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน(Community Empowerment)

“การพัฒนางานอนามัยสิ่งแวดล้อม” การพัฒนาที่ยั่งยืนเริ่มที่คน ต้องร่วมคิด ร่วมทำ การพัฒนาที่ยั่งยืนเริ่มที่คน

เกณฑ์ด้านกระบวนการ 5 ข้อ อ.ป.ท. มีนโยบายและแผนดำเนินงานเมืองน่าอยู่ด้านสุขภาพ จ.น.ท. ผู้รับผิดชอบงานด้านสุขภาพได้รับการถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับเมืองน่าอยู่ด้านสุขภาพ หรือกฎหมายสาธารณสุข ภาคีเครือข่าย หรือผู้นำชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หรือการศึกษาดูงาน มีการพัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านสุขภาพ

เกณฑ์ด้านผลสัมฤทธิ์ ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ 1) ตลาดสดประเภทที่ 1 ได้มาตรฐานตลาดสดน่าซื้อ 70% 2) ร้านอาหารและแผงลอยได้มาตรฐาน CFGT 70% 3) ระบบประปาในชุมชนได้มาตรฐานประปาดื่มได้ 100% การจัดการของเสียชุมชน 4) มูลฝอยทั่วไป มีระบบจัดการตามหลักสุขาภิบาล 5) รถดูดส้วมมีการควบคุม มีระบบขนถ่ายและกำจัดที่ถูก สุขลักษณะ 6) ส้วมสาธารณะใน วัด ปั๊มน้ำมัน ร.พ. โรงเรียน ได้มาตรฐาน HAS

เกณฑ์ด้านผลสัมฤทธิ์ การคุ้มครองสุขภาพด้วยมาตรการกฎหมายสาธารณสุข 7) มีการออกเทศบัญญัติ /ข้อบัญญัติ อ.บ.ต. อย่างน้อย 2 เรื่อง 8) มีระบบการจัดการเหตุรำคาญ และหากมีเหตุรำคาญ สามารถแก้ไขได้มากกว่า 60% ของเรื่องทั้งหมด