หกมิติความไม่เท่าเทียมระหว่างหญิงชาย หนทางเพื่อพัฒนาสู่ความเสมอภาค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการเพราะรักจึงไม่อยากให้สูบบุหรี่
Advertisements

โครงงาน เรื่อง การมีเพศสัมพันธ์ก่อนอันสมควร
แนวทางการดำเนินงาน ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
วิกฤตเศรษฐกิจ และ ผลกระทบต่อแรงงาน
300 Baht ประเทศไทยกับอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ 12 กันยายน 2554
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 10
สำมะโนประชากรและเคหะ พ.ศ ข้อมูลข่าวสารสุขภาพ (THINK)
สรุปผลการประชุม สถานะสุขภาพ
นายบัณฑิตย์ ศรีพุทธางกูร สำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
กรอบการนำเสนอ สถานการณ์ด้านส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม
ดร. พงษ์เทพ สันติกุล คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
อายุเฉลี่ยในการมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกของนักเรียนอาชีวศึกษาชั้น ปวช
สถานการณ์ความยากจน ของประเทศไทย
สัปดาห์ที่ 2 เรื่อง โครงการสุขศึกษา
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
การใช้ประโยชน์จากข้อมูลการสำรวจ การเปลี่ยนแปลงประชากร
ระบบข้อมูลการป่วย ระบบงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลสาเหตุภายนอก ที่ทำให้บาดเจ็บ ระบบรายงาน ระบบฐานข้อมูลผู้ป่วยในรายบุคคล.
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
ทิศทางหลักกรมควบคุมโรค ปี 2553
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน หลักสูตรปรับปรุง พ. ศ
สถานการณ์ ผู้สูงอายุไทย ผศ.นันทยา อุดมพาณิชย์.
เขาวังคู่บ้าน ขนมหวาน เมืองพระ เลิศล้ำศิลปะ แดนธรรมะ ทะเลงาม
สถานการณ์ภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ 7 จังหวัดภาคใต้
อนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น จังหวัดจันทบุรี
การดำเนินงานเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและเยาวชน
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
สำนักส่งเสริมและ พิทักษ์เด็ก
กำลังคน กระทรวงสาธารณสุข
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
หัวหน้ากลุ่มโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
ข้อมูลที่น่าสนใจ ของจังหวัดสุราษฎร์ธานี
รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สสช. เชิงรุก : ตอน “ เราได้อะไรจาก... สำมะโน อุตสาหกรรม พ. ศ ” นางธนนุช ตรีทิพยบุตร เลขาธิการสถิติแห่งชาติ 26 มกราคม 2550.
แนวทางการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
แนวทางการบริหารตำแหน่ง. สาธารณสุขอำเภอ และผู้อำนวยการ รพ. สต
การวิเคราะห์แผนงบลงทุน ปี 2552 และแผนยุทธศาสตร์งบลงทุน ปี
ปัญหา เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ยุทธศาสตร์ กรมสุขภาพจิต
การพยากรณ์โรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ปี 2556
นพ. ทักษพล ธรรมรังสี แผนงานพัฒนาศักยภาพนักวิจัย
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการดำเนินงานของกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ 2551
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ภูษิต ประคองสาย วลัยพร พัชรนฤมล วราภรณ์ ปวงกัณทา
สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ
บุหรี่และสุรา ความแตกต่างของปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพระหว่าง ครัวเรือนที่มีเศรษฐานะและระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน วิชัย โชควิวัฒน สุพล ลิมวัฒนานนท์ กนิษฐา.
นโยบายและยุทธศาสตร์ การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 ราชบุรี
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
กำลังคน กระทรวงสาธารณสุข
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การบริหารและพัฒนากำลังคน
แผนคำของบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
โครงการนำร่องการลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิด โรคหัวใจและหลอดเลือด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หกมิติความไม่เท่าเทียมระหว่างหญิงชาย หนทางเพื่อพัฒนาสู่ความเสมอภาค สุรัชดา กองศรี วิชาญ ชูรัตน์ กัญจนา ติษยาธิคม วุฒิพันธุ์ วงษ์มงคล ภูมิสุข คณานุรักษ์ ภูษิต ประคองสาย การประชุมวิชาการกระทรวงสาธารณสุขประจำปี 2554 โรงแรมแอมบาสซาเดอร์ซิตี้ จอมเทียน พัทยา 6-9 กันยายน 2554

หัวข้อในการนำเสนอ หกมิติความไม่เท่าเทียมระหว่างหญิงชาย ประกอบด้วยมิติดังต่อไปนี้ 1. การอยู่อาศัย 2. การศึกษา 3. การทำงาน 4. สุขภาพ 5. ความยากจน 6. การมีส่วนร่วมทางสังคม แหล่งที่มาข้อมูล 1.สำนักงานสถิติแห่งชาติ 2. กระทรวงสาธารณสุข 3.สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 4.สำนักงานข้าราชการพลเรือน

1) มิติหญิงชาย : การอยู่อาศัย 1) มิติหญิงชาย : การอยู่อาศัย โครงสร้างครัวเรือนของไทย แผนภูมิ : ร้อยละของประชากรที่อาศัยอยู่ใน ครัวเรือนคนเดียว จำแนกตามเพศ ปี2530-2553 แผนภูมิ: ร้อยละของครัวเรือน จำแนกตามเพศ ปี 2530-2553 ที่มา: การสำรวจภาวะการทำงานของประชากร (ไตรมาส3) สำนักงานสถิติแห่งชาติ ผู้หญิงอยู่เพียงลำพังคนเดียวในครอบครัวมากกว่าผู้ชาย

2) มิติหญิงชาย : การศึกษา 2) มิติหญิงชาย : การศึกษา แผนภูมิ : ร้อยละของประชากรที่ไม่ได้เรียนหนังสือ ปี 2530-2553 ผู้หญิงที่ไม่ได้รับการศึกษาลดลงอย่างต่อเนื่อง แต่ในปี 2553 ผู้หญิงไม่ได้รับการศึกษายังสูงกว่าผู้ชายเกือบ 2 เท่า ที่มา: การสำรวจภาวะการทำงานของประชากร (ไตรมาส3) สำนักงานสถิติแห่งชาติ

3) มิติหญิงชาย : การทำงาน 3) มิติหญิงชาย : การทำงาน แผนภูมิ : ร้อยละของประชากร จำแนกตามอุตสาหกรรม และเพศ ปี 2530-2550 ภาคเกษตร ภาคการผลิต ผู้หญิงทำงานในภาคการผลิต และภาคบริการเพิ่มขึ้น ภาคบริการ ที่มา: การสำรวจภาวะการทำงานของประชากร (ไตรมาส3) สำนักงานสถิติแห่งชาติ

- ผู้หญิงยังได้รับค่าจ้างน้อยกว่าผู้ชาย   แผนภูมิ : ค่าจ้างเฉลี่ยต่อเดือนของลูกจ้าง จำแนกตามเพศ (บาท/เดือน) ปี 2545-2553 - ผู้หญิงยังได้รับค่าจ้างน้อยกว่าผู้ชาย - โดยความแตกต่างระหว่างค่าจ้างแรงงานระหว่างเพศหญิงและชายมีแนวโน้มที่ดีขึ้น ที่มา : การสำรวจภาวะการทำงานของประชากร สำนักงานสถิติแห่งชาติ

4) มิติหญิงชาย : สุขภาพ ผู้หญิงอายุยืนยาวกว่าผู้ชาย 4) มิติหญิงชาย : สุขภาพ แผนภูมิ : แผนภูมิอายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด จำแนกตามเพศ ปี 2507-2549 ผู้หญิงอายุยืนยาวกว่าผู้ชาย ที่มา: สำรวจการเปลี่ยนแปลงประชากร สำนักงานสถิติแห่งชาติ แผนภูมิ : ร้อยละของประชากรอายุ15 ปี ขึ้นไป จำแนกตามพฤติกรรมดื่มสุราและเพศ ปี 2552 แผนภูมิ : ร้อยละของประชากรอายุ15 ปี ขึ้นไป จำแนกตามพฤติกรรมสูบบุหรี่และเพศ ปี 2552 พฤติกรรมที่มีเสี่ยง ผู้ชายดื่มสุรามากกว่าผู้หญิงประมาณ 5 เท่า และผู้ชายสูบบุหรี่มากกว่าผู้หญิง ที่มา : สำรวจอนามัยและสวัสดิการปี 2552 สำนักงานสถิติแห่งชาติ

ผู้ชายยังมีอัตราผู้ป่วยเป็นโรคเอดส์สูงกว่าผู้หญิง แต่มีแนวโน้มลดลง แผนภูมิ : อัตราผู้ป่วยโรคเอดส์ต่อประชากร 100,000 คนจำแนกตามเพศ ปี 2541-2552 ที่มา: สำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข ผู้ชายยังมีอัตราผู้ป่วยเป็นโรคเอดส์สูงกว่าผู้หญิง แต่มีแนวโน้มลดลง

5) มิติหญิงชาย : ความยากจน 5) มิติหญิงชาย : ความยากจน   แผนภูมิ : สัดส่วนครัวเรือนยากจนจำแนกตามเพศของหัวหน้าครัวเรือน ปี 2537-2552   แผนภูมิ : สัดส่วนคนจนแยกตามเพศ ปี 2537-2552 ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ การวิเคราะห์สัดส่วนคนจนพบว่า ผู้ชายยากจนมากกว่าผู้หญิง ครอบครัวที่มีผู้ชายเป็นหัวหน้าครอบครัวมีฐานะยากจน (อยู่ใต้เส้นความยากจน) มากกว่าผู้หญิงเป็นหัวหน้าครอบครัว

6) มิติหญิงชาย : การมีส่วนร่วมทางสังคม 6) มิติหญิงชาย : การมีส่วนร่วมทางสังคม แผนภูมิ : ร้อยละของข้าราชการพลเรือนสามัญ จำแนกตามเพศ ปี 2547-2551 ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน เกือบ 2 ใน 3 ข้าราชการพลเรือนเป็นผู้หญิง และมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น แต่ความก้าวหน้าที่จะได้รับตำแหน่งในระดับสูง (9-11) พบว่า ผู้หญิงมีโอกาสดำรงตำแหน่งข้าราชการในระดับสูงเพียงประมาณ 1 ใน 4 เท่านั้น

สรุป 1.ความเหลื่อมล้ำระหว่างชายหญิง มีแนวโน้มดีขึ้น (ช่องว่างน้อยลงความแตกต่างน้อยลง) ในมิติ: การศึกษา ด้านผลตอบแทนจากการทำงาน การมีส่วนร่วมทางสังคม 2. ด้านปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ (การดื่มสุรา,ดื่มแอลกอฮอล์) ผู้ชายมีพฤติกรรมเสี่ยงที่สูงมากกว่าผู้หญิง ทำให้ผู้หญิงมีอายุยืนยาวกว่าผู้ชาย 3. ผู้หญิง ได้รับค่าตอบแทน และมีโอกาสดำรงตำแหน่งข้าราชการในระดับสูง น้อยกว่าผู้ชาย

กิตติกรรมประกาศ สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (IHPP) สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข สำนักวิชาการสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข สำนักงานสถิติแห่งชาติ เครือข่ายติดตามและประเมินความเป็นธรรมทางสุขภาพในประเทศไทย (HEM-Net)