สี (Color)
สี มีผลต่อจิตใจมนุษย์ แบ่งเป็นวรรณะ (Tone) ได้ 2 วรรณะคือ สี (Color) สี มีผลต่อจิตใจมนุษย์ แบ่งเป็นวรรณะ (Tone) ได้ 2 วรรณะคือ 1. วรรณะสีร้อน (Warm Tone) มีสีแดงเป็นหลัก ให้ความรู้สึก สดใส ร้อนแรง ฉูดฉาด หรือรื่นเริง 2. วรรณะสีเย็น (Cool Tone) มีสีน้ำเงินเป็นหลัก ให้ความรู้สึก สงบ เยือกเย็น
สี ขั้นที่ 1 สีมี 3 ขั้น ได้แก่ สีมี 3 ขั้น ได้แก่ สีขั้นที่ 1 แม่สี / แม่สีวัตถุธาตุ แดง น้ำเงิน เหลือง แดง น้ำเงิน เหลือง
สี ขั้นที่ 2 สีขั้นที่ 2 แม่สีผสมกันในปริมาณที่เท่ากัน มีจำนวน 3 สี สีขั้นที่ 2 แม่สีผสมกันในปริมาณที่เท่ากัน มีจำนวน 3 สี ม่วง ส้ม เขียว
สี ขั้นที่ 3 สีขั้นที่ 3 แม่สีผสมกันกับสีขั้นที่ 2 ในปริมาณที่เท่ากัน มีจำนวน 6 สี น้ำเงินม่วง ม่วงแดง เหลืองแสด
สี ขั้นที่ 3 สีขั้นที่ 3 แม่สีผสมกันกับสีขั้นที่ 2 ในปริมาณที่เท่ากัน มีจำนวน 6 สี แสดแดง น้ำเงินเขียว เขียวเหลือง
สีที่เป็นได้ทั้งสองวรรณะ คือ สี 2 วรรณะ สีที่เป็นได้ทั้งสองวรรณะ คือ เหลือง ม่วง
สีตัดกัน สีตัดกัน คือถ้าใช้ด้วยกันควรมีสัดส่วน 80: 20 หรือทำให้สีใดสีหนึ่งหรือทั้งคู่ลดความรุนแรงลงไปโดย เติมสีขาว หรือ ดำ ลงไป กับ กับ กับ
การใช้สีตัดกัน สัดส่วนเท่ากัน ไม่ควรใช้ สัดส่วน 80: 20 ควรใช้
การใช้สีตัดกัน ลดค่าสีใดสีหนึ่ง
ตัวอย่างการใช้สี สีโทนเย็น
สีโทนเย็น
สีโทนร้อน
สีโทนร้อน
การใช้สีตัดกันในสัดส่วนที่พอเหมาะ
จิตวิทยาการใช้สี อิทธิพลของสีที่มีต่อความรู้สึกของมนุษย์ สีแดง ความร้อนแรง ตื่นเต้น เร้าใจ อันตราย เร่าร้อน รุนแรง เป็นสีที่มีพลังมาก สามารถบดบังสีอื่น ๆ ไม่เหมาะที่จะใช้เป็นพื้นหลัง สีเหลือง ความสดใส ร่าเริง เบิกบานเมื่ออยู่กับสี เขียวจะให้ความรู้สึกมั่นคง เป็นสีที่มีพลังความสว่างอย่างมาก สีเขียว สบายตา สดชื่น ทำให้เกิดความสงบ เยือกเย็นบำบัดโรคประสาทได้ดี สีน้ำเงิน เงียบขรึม เก็บกด เอาการเอางาน สงบสุข มีสมาธิ หนักแน่น สุภาพ สีม่วง ความลึกลับ เวทมนต์คาถา ผิดหวัง เศร้า หม่นหมอง และความ เก่าแก่โบราณ
จิตวิทยาการใช้สี อิทธิพลของสีที่มีต่อความรู้สึกของมนุษย์ สีเทา ความเศร้า เงียบขรึม แก่ชรา สงบนิ่ง สลดใจ สีดำ น่ากลัว ลึกลับ มีพลัง ความมืด เมื่อใช้สีอื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็นภาพหรือ ตัวอักษรลงไปจะทำให้สีเหล่านั้นเด่น สีขาว บริสุทธิ์ ใหม่ สดใส สะอาด ร่าเริง ว่างเปล่า เมื่อวางภาพหรือ ตัวอักษรสีต่าง ๆ ลงไปจะทำให้สีเหล่านั้นเด่น
หลักการใช้สี ใช้สีสดกับการกระตุ้นให้เห็นได้เด่นชัด เพื่อการมองในระยะเวลาสั้น ๆ เหมาะกับการทำสื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ การใช้สีมากเกินไปไม่เหมาะกับงานออกแบบอย่างแท้จริง สีหลายสีอาจลดความเด่นชัดของงาน เมื่อใช้สีสด เข้มจัดคู่กับสีอ่อนมาก ๆ จะทำให้ดูชัดเจน น่าสนใจ การใช้สีบนตัวอักษร ข้อความ จะต้องให้ชัดเจน อ่านง่าย งดการใช้สีตรงกันข้าม เช่นอักษรเขียวบนพื้นแดง ใช้สีให้เหมาะกับวัยของผู้บริโภค